-
Timeline of SIM registration in Thailand + Notes on regulatory impact assessment
Do we pay the high prices of our personal data for, in the end, low or no benefits at all? Timeline of SIM registration policy development from 2005 up until early 2018.
-
อุตสาหกรรมไอทีล้มเหลวที่จะปกป้องผู้ใช้ เพราะเรา move fast and break things?
“Move fast and break things.” เป็นคำขวัญที่โด่งดังของเฟซบุ๊ก เป็นหลักคิดที่ดีเพื่อการสร้างนวัตกรรม ทดลองทำ ดูว่าใช้ได้หรือไม่ เก็บข้อมูล ตรงไหนไม่ดีก็ทำใหม่ ทำซ้ำวนรอบไปเรื่อยๆ — ฟังดูโอเค แต่ถ้าเมื่อใดมันเป็นเรื่องที่จะกระทบกับสาธารณะ คุณทำแบบนี้คนจะเจ็บเยอะ
-
ประชารัฐ? มีบริการสาธารณะอะไรบ้างไหม ที่ไม่ควรให้เอกชนทำ?
ความไม่สะดวกในการติดต่อราชการ ทำให้เกิดโอกาสทางธุรกิจ และทำไปทำมา พอมันกลายเป็นอู่ข้าวอู่น้ำ ก็คงมีคนไม่อยากให้ความไม่สะดวกนั้นหายไป เดี๋ยวจะหมดทางทำมาหากิน
-
“ทำหน้าที่ตัวเองให้ดีที่สุด” พอไหม? ลองพูดในภาษาโปรแกรมเมอร์
ถ้าความไม่มีประสิทธิภาพมันอยู่ในโปรโตคอล ถ้าความไม่ปลอดภัยมันอยู่ในวิธีการจัดการหน่วยความจำของระบบปฏิบัติการ โค้ดที่ดีที่สุดของเรา ก็มีประสิทธิภาพได้สูงสุดแค่ที่กำแพงของโปรโตคอลจะอนุญาต ปลอดภัยได้สูงสุดเท่าที่การอ่านเขียนหน่วยความจำของระบบปฏิบัติการมันจะสนับสนุน
-
Science Communication สื่อสารวิทยาศาสตร์ให้สาธารณะเข้าใจ
สิ่งที่ทำให้วงการวิทยาศาสตร์ในต่างประเทศก้าวหน้า ไม่ใช่เพียงทรัพยากรในการพัฒนาตัวความรู้ แต่มีเรื่องของการสื่อสารความรู้ด้านวิทยาศาสตร์สู่สาธารณะด้วย
-
ทดลอง Tesseract 4.0alpha กับภาษาไทย
ทดสอบใช้งานเอนจิน deep learning (LSTM) ตัวใหม่ใน Tesseract 4.0alpha กับภาษาไทย ทั้งหมดนี้เป็นซอฟต์แวร์เสรี ใช้ได้ฟรี มีซอร์สโค้ดให้ไปแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ตามชอบใจด้วย
-
ทำเว็บ ทำแอป ให้รองรับหลายภาษา หลากวัฒนธรรม
ไลบรารี/เฟรมเวิร์กสำหรับการทำให้แอป/เว็บไซต์รองรับหลายภาษา/วัฒนธรรม หรือที่เรียกว่า “internationalization” ทั้งส่วนหน้าตาและการประมวลผลอื่นๆ เช่น เรียงลำดับตามพจนานุกรม ปฏิทิน รูปแบบวันเวลา สกุลเงิน โพสต์เรื่องนี้ไปที่กรุ๊ปสมาคมโปรแกรมเมอร์ไทยและใน Medium ขอโพสต์ซ้ำที่นี่ อะไรคือ Internationalization? หลักๆ ในเรื่องนี้มี 2 คำ คือ internationalization (i18n) กับ localization (L10n) ส่วนของโค้ดจะเป็นการทำ internationalization รองรับไว้ คือเตรียมให้รองรับหลายภาษา/วัฒนธรรม ไม่ hardcode ภาษาลงในโค้ด คนเขียนโค้ดไม่ทึกทักเรื่องเกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรมไปเอง สำหรับข้อความ/ข้อมูลสำหรับแต่ละภาษาแต่ละประเทศจะเก็บเป็นก้อนๆ เอาไว้ เรียกว่า locale การจัดเตรียมข้อมูล locale พวกนี้เรียกว่า localization ซึ่งมีทั้งการแปลข้อความ และการเตรียมข้อมูลที่เจาะจงกับประเทศ/เขตการปกครอง/วัฒนธรรม (ตัวย่อ i18n และ L10n มาจากอักษรแรกสุด+จำนวนตัวอักษรระหว่างอักษรแรกสุดกับอักษรท้ายสุด+อักษรท้ายสุด ใช้ i ตัวเล็ก และ L ตัวใหญ่ เพื่อให้เห็นแตกต่างจากเลขหนึ่ง 1) […]
-
National Digital ID
กรณีโดนเอาบัตรประชาชนไปเปิดบัญชี เอาสำเนาบัตรประชาชนไปออกซิมใหม่ อาจไม่ได้หมายความว่าตัวเทคโนโลยีบัตรประชาชนไม่ดี เพราะสิ่งที่เกิดอาจเกิดตรงรอยต่อของระบบ หรือเกิดตรงคน ที่จัดการความเชื่อใจกันผิดพลาด ทึกทักกันไปเองว่าของที่ถูกส่งมาตรงหน้านั้นเชื่อถือได้
-
ตรวจสอบการจัดหาข้อมูลเข้าสำหรับระบบปัญญาประดิษฐ์
ก่อนหน้านี้มันเป็น คอมเล่มเกมกับคอมกันเอง เพื่อฝึกฝน ต่อไปมันจะเป็น คอมสร้างเกมขึ้นมาให้คนเล่นตามเกมนั้น เพื่อฝึกฝน
-
ตัวชี้วัดเป็นคนละอย่างกับสิ่งที่มันวัด
พยายามมองหาตัวชี้วัดมากเสียจนมองไม่เห็นสิ่งที่เป็นสาระรึเปล่า