Category: Informatics

  • Privacy by design, at the protocol level

    Privacy by design, at the protocol level

    ข้อพิจารณาถึงความเป็นส่วนตัวในการออกแบบและพัฒนาโปรโตคอลอินเทอร์เน็ต Doing privacy at the core internet infrastructure level. Privacy considerations in the design and implementation of internet protocols and mechanisms, like DNS and DHCP. RFCs and best practices from Internet Engineering Task Force (IETF) and Internet Architecture Board (IAB).

  • นโยบาย Cloud First ของรัฐบาลสหราชอาณาจักร

    นโยบาย Cloud First ของรัฐบาลสหราชอาณาจักร

    รีวิวเร็วๆ นโยบาย “Cloud First” (คลาวด์มาก่อน) ของรัฐบาลสหราชาอาณาจักรพยายามทำอะไร เป็นเพียงเรื่องเทคโนโลยี จัดซื้อจัดจ้าง หรือมากกว่านั้น?

  • [Links] Algorithmic Transparency: Understanding why we are profiled in a certain manner #APrIGF2017 #WS80

    [Links] Algorithmic Transparency: Understanding why we are profiled in a certain manner #APrIGF2017 #WS80

    Links for Asia Pacific Regional Internet Governance Forum 2017 – WS80 Algorithmic Transparency: Understanding why we are profiled in a certain manner, hosted by SFLC.in — to be digested and integrated to APrIGF 2017 Bangkok Synthesis Document

  • จุดอ่อนของ AI ในงานความมั่นคงปลอดภัยทางสารสนเทศ #infosec17

    จุดอ่อนของ AI ในงานความมั่นคงปลอดภัยทางสารสนเทศ #infosec17

    ปัญญาประดิษฐ์กับความมั่นคงไซเบอร์ AI ฉลาด แต่ก็ถูกหลอกได้ ถ้าจะเอามาช่วยงานความมั่นคงปลอดภัยทางสารสนเทศต้องระวังอะไรบ้าง สรุปจากงาน Infosecurity Europe 2017

  • ปลาดาวออฟฟิศ

    ปลาดาวออฟฟิศ

    วันนี้พี่นุสรณ์โพสต์ ขอเก็บไว้หน่อย 14 ปีละ ตอนนั้นนอกจากทำ spec ทำ test case ตรวจคำแปล UI ก็ยังเขียนเอกสารด้วย โชคดีมีคนเก็บไว้บ้าง วันนี้ลองกูเกิล “Pladao Office” ก็เจอ ข้อมูลทั่วไป http://ftp.ji-net.com/pladao/2.0/readme.html ขั้นตอนติดตั้ง http://ftp.ji-net.com/pladao/2.0/install.html ความสามารถภาษาไทย http://ftp.ji-net.com/pladao/2.0/features.html FAQ http://ftp.ji-net.com/pladao/1.0/faq.txt Credits http://ftp.ji-net.com/pladao/2.0/credits.txt

  • เราเป็น เจ้า-ของ อะไรบ้างในยุคดิจิทัล?

    เราเป็น เจ้า-ของ อะไรบ้างในยุคดิจิทัล?

    ทั้งๆ ที่มันเป็นเครื่องเป็นของที่เราซื้อมา แต่เราไม่ได้เป็น “เจ้า” ของมันอีกต่อไปแล้ว ผู้ผลิตต่างหากที่เป็น “เจ้า” จริงๆ ที่ควบคุมของที่เราซื้อมา

  • Person API ขุดประกอบประวัติบุคคลจากอินเทอร์เน็ต

    ความสามารถอันนึงของ Cobook และซอฟต์แวร์คล้ายๆ กัน อย่างตัว Contacts ของ Gmail ก็คือ มันสามารถ “merge” หรือรวมที่อยู่ติดต่อที่ซ้ำๆ กันให้มาเป็นอันเดียวได้ เช่น คนๆ นึงอาจจะมีมีหลายเบอร์โทร มีอีเมล มีทวิตเตอร์ มี LinkedIn มีบัญชีโซเชียลมีเดียอื่นๆ บางบัญชีใช้ชื่อจริง บางบัญชีเป็นชื่อเล่น ซอฟต์แวร์พวกนี้มันช่วยรวมทั้งหมดให้มาอยู่ในระเบียนเดียวกันได้ จะได้จัดการและค้นหาได้ง่ายๆ แล้วมันส่งผลกระทบอะไรกับสิทธิของผู้ใช้เน็ตอย่างเราไหม?

  • รวมบทความภาษาไทยเรื่องความเป็นส่วนตัว ข้อมูลส่วนบุคคล และสิทธิในการถูกลืม

    รวมลิงก์บทความเกี่ยวกับความเป็นส่วนตัวและข้อมูลส่วนบุคคล และชวนไปงานประชุม “หน้าต่างมีหูประตูมีช่อง: ความเป็นส่วนตัวออนไลน์และการสอดส่องการสื่อสาร (Online Privacy and Communications Surviellance)” ที่มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 25 ก.ย. 2556

  • media and information literacy & citizen science: พลเมืองที่อ่านเขียนสารสนเทศเป็นกับการมีส่วนร่วมทางการเมืองผ่าน “วิทยาศาสตร์ภาคพลเมือง”

    คำแปล “literate” ในภาษาไทย มีใช้กันอยู่ว่า “อ่านออกเขียนได้” เทียบได้อย่างตรงไปตรงมากับภาษาอังกฤษที่นิยามว่า “literacy” คือ “ability to read and write” คำว่า “รู้เท่าทัน” มันตก “การเขียน” ไป / ถ้าอำนาจในสังคมปัจจุบัน มาจาก ข้อมูล และ วิธีการให้เหตุผล พลเมืองเจ้าของอำนาจ ก็ควรจะเข้าไปมีส่วนร่วมได้มากขึ้น ในการสร้างข้อมูลและวิธีการให้เหตุผลพวกนั้น

  • Netizen Meetup 2013.06.09 พบปะเหล่า “นักพัฒนา” หลัง #inetbkk

    Netizen Meetup พบปะนักพัฒนาซอฟต์แวร์ นักนโยบายเทคโนโลยี ผู้ประกอบการอินเทอร์เน็ต นักกิจกรรมสังคม และนักสิทธิมนุษยชน อาทิตย์ 9 มิ.ย. ที่ Glowfish ชั้น 6 ตึกอโศกทาวเวอร์ ตรงข้ามมศว.ประสานมิตร (MRT เพชรบุรี ทางออก 2 แล้วข้ามคลอง)