Tag: Internet censorship

  • Internet of Opinions

    Internet of Opinions

    เราไม่ได้ต้องการเฉพาะความจริง (truth) หรือข้อเท็จจริงที่เป็นจริง (true fact) เราต้องการข้อเท็จจริงอื่นๆ รวมถึงความคิดเห็นด้วย ทั้งที่เราชอบและไม่ชอบ ความคิดเห็นนั้นไม่เพียงมีคุณค่าในตัวเอง แต่ยังเป็นเครื่องมือพาเราไปหาความจริงและข้อเท็จจริงเพิ่มเติมในอนาคตได้อีก

  • การร่วมสร้างอัตลักษณ์ “คนดี” โดยมวลมหาประชาชน: กรณีศึกษาสื่อส่วนบุคคล

    อาจินต์และอาทิตย์ ใช้แนวคิดเรื่อง “มีม” (meme) ศึกษาการมีส่วนร่วมในขบวนการทางการเมืองในประเทศไทยช่วงปี 2556-2557 ผ่านการผลิตมีมของผู้สนับสนุนขบวนการ โดยใช้นิยามของมีมว่า “หน่วยของการส่งผ่านวัฒนธรรม”

  • อินเทอร์เน็ตสีขาว

    การจะมีชีวิตที่ปลอดภัยนี่มันไม่ใช่เรื่องการพยายามโดยไม่มีวันสำเร็จที่จะทำให้โลกทั้งใบปลอดเชื้อ หรือขังตัวเองอยู่แต่ในห้อง

  • Quick notes on Thailand’s new cybercrime law amendment (26 Apr 2016 rev)

    Look at Section 14 (1) [online defamation], 14 (2) [“public safety”], 15 para. 3 [burden of proof to the intermediary], 17/1 [Settlement Commission], 18 (7) [investigative power to access encrypted data-at-rest], 20 (4) [Computer Data Screening Committee can block content that is totally legal], and 20 para. 5 [will be used to circumvent data-in-transit encryption].

  • [โน๊ต] ใครเป็นเจ้าของอินเทอร์เน็ต?

    ความเป็นเจ้าของของพื้นที่ต่างๆ บนเน็ต ก็ส่งผลต่อสิทธิเสรีภาพในพื้นที่นั้นๆ และพื้นที่ที่เชื่อมต่อด้วย

  • [27 ก.ค.] ตะลุยแปล #Tor เป็นไทย เสาร์นี้

    ใช้คนไทยใช้เน็ตได้ปลอดภัยขึ้น ชวนชาวเน็ตมาช่วยกันแปลโปรแกรม Tor เป็นภาษาไทย 🙂 เสาร์ 27 ก.ค. 10-17น. @ ร้านกาแฟ Tom N Toms สยามเซ็นเตอร์

  • คำ “ออกตัว” — มาราธอน เล่มแรก

    ด้านล่างนี้น่าจะเป็น “คำนำ” หนังสือเล่มครั้งแรกของผม วันนี้เพิ่งจะได้จับ ผมเลือกใช้คำว่า “มาราธอน” กับกิจกรรมของเครือข่ายพลเมืองเน็ตนี้ เพราะเห็นด้วยว่าการศึกษาและรณรงค์ประเด็นใดก็ตาม ไม่สามารถสำเร็จได้ชั่วข้ามคืน มาราธอนคือการวิ่งระยะไกล ข้ามเขตแดนและส่งข่าวสาร หนังสือเล่มวางตำแหน่งตัวเองเป็นจุดสตาร์ท ดังคำออกตัว

  • Google เปิดเผยข้อมูลการเซ็นเซอร์ละเอียดขึ้น

    กูเกิลเปิดให้ใช้บริการ “รายงานความโปร่งใส” (Transparency Report) มาตั้งแต่ปีที่แล้ว และเมื่อวาน (27 มิ.ย. 2554) ก็ได้ประกาศปรับปรุงหน้าตาใหม่ พร้อมกับข้อมูลที่ละเอียดขึ้น Transparency Report ดังกล่าวประกอบไปด้วย 2 ส่วนหลัก คือ 1) การจราจร (Traffic) และ 2) คำร้องจากรัฐบาล (Government Requests) โดย Traffic จะแสดงปริมาณการจราจรที่เข้ามายังบริการต่าง ๆ ของกูเกิล ในแต่ละช่วงเวลา ซึ่งเมื่อดูในภาพรวมแล้ว จะทำให้เห็นได้ว่า เกิดเหตุผิดปกติอะไรกับการใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศหนึ่ง ๆ หรือเปล่า เช่น ถ้าอยู่ดี ๆ ปริมาณการจราจรจากประเทศหนึ่งแทบจะหายไปเลย ก็พอจะบอกได้ว่า ไม่ 1) บริการของกูเกิลถูกแบนในประเทศดังกล่าว ก็ 2) อินเทอร์เน็ตของประเทศนั้นมีปัญหาอะไรสักอย่าง เช่น ช่องสัญญานออกนอกประเทศอาจจะขาด หรือบางทีอาจจะถูกตัดอย่างตั้งใจ (เช่นกรณีซีเรียหรือพม่า) ส่วน Government Requests จะบอกจำนวนคำร้องและเหตุผลที่ส่งมาจากรัฐบาลประเทศต่าง…

  • นิยามปลอมของ “ข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ” ?

    จากกรณี ปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา นักกิจกรรมด้านสิทธิผู้ป่วย ถูกแจ้งข้อกล่าวหาว่า “นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ” ตามมาตรา 14 (1) ของพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ โดยข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ถูกกล่าวหาเป็นข้อมูลสถิติคนไข้ที่เสียชีวิตเและภาพความผิดพลาดในการรักษา ซึ่งใช้ในการรณรงค์ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข ผมมีข้อสังเกตเกี่ยวกับมาตราดังกล่าวดังนี้ [English Brief] May 22, 2011. Thai patient rights activist Preeyanan Lorsermvattana of Thai Medical Error Network (TMEN) was accused of “forging computer data”. The data in question is from the Network’s campaign to support Medical Malpractice Victims Protection Bill. — My take:…

  • นักข่าว 0.8: กรณีการจับผู้อำนวยการนสพ.ประชาไท และข่าวที่กรุงเทพธุรกิจออนไลน์รายงาน #freejiew

    [เพิ่มเติม 2010.09.27 14:21: ผมเขียนบล็อกโพสต์นี้ เพราะตระหนักว่า เนื้อหาในการฟ้องนั้นก็เรื่องหนึ่ง ส่วนภาพที่ถูกสร้างให้ปรากฏต่อสาธารณะ-ทางสื่อ-นั้นก็อีกเรื่องหนึ่ง การนำเสนอภาพกระบวนการการจับกุมซึ่งผิดไปจากความเป็นจริงอย่างมีนัยยะนี้ ส่งผลต่อภาพประทับในหัวของคน และให้โทษกับผู้ถูกกล่าวหา นี่ไม่ใช่เรื่องเล็กน้อย] [เพิ่มเติม 2010.09.27 14:54: เพื่อความสะดวกในการ(ไม่)อ่าน ขอแจ้งว่าโพสต์นี้ไม่มีข้อมูลใหม่หรือการวิเคราะห์อะไรเกี่ยวกับคดีของจีรนุชเลย. เนื้อหาแบ่งเป็น 3 ตอน: 1) วารสารศาสตร์ (อันเป็นที่มาของชื่อ นักข่าว 0.8 ที่เทียบกับ เว็บ 2.0); 2) ข้อเสนอในเรื่องความรับผิดของตัวกลางและการดำเนินคดี; 3) ข้อสังเกตต่อสมาคมวิชาชีพสื่อ] เมื่อเย็นวันศุกร์ (24 กันยา) ผมมีเหตุให้ต้องไปขอนแก่นเป็นครั้งแรก กลับมาก็ได้อ่านข่าวเกี่ยวกะเหตุการณ์นั้นตามสื่อต่าง ๆ ก็ตรงบ้าง คลาดเคลื่อนบ้าง นิด ๆ หน่อย ๆ เป็นอันเข้าใจได้ เพราะจำนวนหนึ่งรายงานในระหว่างที่เรื่องยังไม่ชัดเจนหรือยังไม่จบดี แต่วันนี้ได้อ่านข่าวฉบับของกรุงเทพธุรกิจออนไลน์ พบว่ามันคลาดเคลื่อนจนน่าตลก ขำเสียจนไม่รู้จะพอเพียงอย่างไรไหว เนื้อความหรือก็ราวกับนิยายเพื่อความปรองดอง คือไม่รู้จะพูดอย่างไรดี นอกจากนึกภาพ ตำรวจตรวจคนเข้าเมืองกอดคอกะนักข่าวกรุงเทพธุรกิจออนไลน์ แล้วร้องว่า ร่วมกัน เราทำได้!…

Exit mobile version