Tag: Internet censorship

  • on press(ed)

    “The worst kind of censorship is self-censorship.” Short interviews/comments I gave (together with others) in recent months. For the records. Blogging the Coup By Dustin Roasa Columbia Journalism Review Short Takes, 10 April 2008 Bloggers don’t predict stability By Pravit Rojanaphruk The Nation, 22 December 2007 (Bangkok Pundit covered this) บทสัมภาษณ์ [PDF] กองบรรณาธิการ จดหมายข่าวปฏิรูปสื่อ, คณะกรรมการรณรงค์เพื่อการปฏิรูปสื่อ,…

  • TWA/DSI in OIC Internet Censorship Investigation Subcommittee

    Inside the Official Information Commission, there’s a “Internet censorship investigation subcommittee” which taking care of the information disclosure and information access on the Internet and investigating the Internet censorship case if it occurs. The president of the Thai Webmaster Association (TWA) (or his/her representative) is an ex-officio member of that Internet censorship investigation subcommittee. This…

  • Out of 20, we got 1 1/2. Ok, that’s something. Move on.

    Office of the Official Information Commission (O.I.C.) asked Ministry of Information and Communication Technology to reveal names of people who MICT has contacted with for blocking business (item no.12) and partially-disclosed blocklist (item no.15), as requested by an Internet freedom group, Freedom Against Censorship Thailand. MICT admitted that it has blocked 1,893 websites before the…

  • YouTube – "This video is not available in your country"

    YouTube ถูกเซ็นเซอร์ครับ เป็นการเซ็นเซอร์ตัวเอง (self-censorship) ของ YouTube ซึ่งก็อย่างที่เราทราบ เป็นไปตามข้อตกลงของรัฐบาลไทย โดยกระทรวงไอซีที กับทางกูเกิล ที่ทางรัฐบาลไทยสามารถร้องขอให้ทาง YouTube ปิดการแสดงวิดีโอชิ้นใดก็ได้ … วิเศษครับ This video is not available in your country. Oh, thank you for reminding me that I’m in Thailand. http://youtube.com/watch?v=70m1ncXQjXA No matter what it is, the question is that, why I can’t judge it myself whether I want to see it…

  • Japan seeking to govern top news Web sites

    เยอรมัน แล้วก็ญี่ปุ่น เสรีภาพพลเน็ตกำลังถูกกดดัน… “อินเทอร์เน็ตกำลังมีอิทธิพลเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ในญี่ปุ่น ดังนั้นเป็นธรรมดาที่รัฐบาลต้องการควบคุมมัน” คณะกรรมการของรัฐบาลญี่ปุ่นเสนอให้มีการกำกับควบคุม “เว็บไซต์ข่าวที่มีผู้อ่านจำนวนมากและทรงอิทธิพล เนื่องจากตอนนี้หนังสือพิมพ์ วิทยุและโทรทัศน์มีการกำกับดูแลเรียบร้อยแล้ว” รัฐบาลญี่ปุ่นยังพยายามที่จะจำกัดควบคุมด้านที่ไม่พึงประสงค์ของอินเทอร์เน็ตอีกด้วย ซึ่งนักวิจารณ์บอกว่าจะทำให้รัฐเข้ามาแทรกแซงด้วยการเซ็นเซอร์ เดือนที่ผ่านมา (ก.พ. 2551) ผู้ให้บริการโทรศัพท์มือถือได้รับการร้องขอให้ทำการกรองเนื้อหาบางอย่างที่ส่งเข้ามือถือของผู้ใช้ที่อายุต่ำกว่า 18 ซึ่งก่อนหน้านี้การกรองเนื้อหาแบบนี้จะต้องสั่งเปิดใช้เสียก่อน แต่ปัจจุบันมันจะถูกเปิดใช้เป็นค่าปริยาย และจะสั่งปิดได้โดยผู้ปกครองของผู้ใช้ อ่านต่อ: ญี่ปุ่นเล็งควบคุมเว็บไซต์ข่าวยอดนิยม, ประชาไท, 5 มี.ค. 2551 (แปลจาก Japan seeking to govern top news Web sites, International Herald Tribune, 27 กพ. 2551) ผ่าน FACT technorati tags: Japan, Internet censorship, news

  • Burmese Anti-Blogging Measures

    Niknayman (ต้องลงฟอนต์พม่าก่อน ถึงจะอ่านได้) บล็อกพม่าที่รายงานเหตุการณ์ลุกฮือในพม่าเมื่อกันยาปีที่แล้ว รายงานว่า: รัฐบาลทหารพม่า ใช้เทคนิควิธีหลายอย่าง เพื่อสกัดกั้นบล็อกเกอร์/ผู้สื่อข่าวพลเมืองในอินเทอร์เน็ต วิธีมีตั้งแต่การปิดกั้นให้เข้าบล็อกไม่ได้ การแทรกคำต่าง ๆ เข้าไปในบล็อก การเปลี่ยนทางลิงก์ในบล็อก (ไปโผล่เว็บโป๊แทน) ไปจนถึงการพยายามทำให้อินเทอร์เน็ตช้าลง เพื่อผู้ใช้อินเทอร์เน็ตจะได้เข้าถึงบล็อกและเว็บไซต์เหล่านั้นไม่ได้ Committee to Protect Bloggers: Report on Anti-Blogging Measures from Burmese Blogger Irrawaddy: Burmese Regime Attacks Bloggers (รายงานเข้า iReport) เพิ่มเติม (2008.01.26): จากที่เพื่อนชาวพม่าเล่าให้ฟัง รัฐบาลทหารได้ควบคุมการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตในพม่าอย่างเข้มงวดมากขึ้น หลังเหตุการณ์ลุกฮือดังกล่าว เพื่อป้องกันไม่ให้มีการรายงานสถานการณ์ใด ๆ ไปยังนอกประเทศ เนื่องจากโครงสร้างพื้นฐานอินเทอร์เน็ตของพม่ายังไม่ทั่วถึง การใช้อินเทอร์เน็ตส่วนใหญ่จึงทำที่ร้านอินเทอร์เน็ต ซึ่งรัฐบาลทหารก็มีคำสั่งให้ร้านอินเทอร์เน็ตทุกร้าน ห้ามไม่ให้ผู้ใช้นำอุปกรณ์ใด ๆ มาใช้กับคอมพิวเตอร์ของร้าน เพื่อป้องกันการส่งไฟล์ภาพหรือข้อมูลใด ๆ (จากกล้องหรือแฟลชไดรว์) และบังคับให้ร้านอินเทอร์เน็ตจะต้องจับภาพหน้าจอของคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง ทุก ๆ 15…

  • Blog provider ethics / Censorship from the "house owner"

    OKNation silently censors users’ blogs — iTeau reported, Your Blog Is Banned By Me, Your Second Big Brother จริยธรรมของบล็อกเกอร์ — จริยธรรมของผู้ให้บริการบล็อก ชวนอ่าน คำสั่งของพี่รอง (Your Blog Is Banned By Me, Your Second Big Brother) โดย iTeau อย่างที่เป็นที่รู้กัน (เงียบ ๆ) มานานแล้วว่าบริการบล็อก OKNation (ที่โฆษณาว่าพื้นที่นี้ “อิสระทางปัญญา ทุกคนมีสิทธิเขียน เผยแพร่ความคิด”) มีการลบบัญชีผู้ใช้ และลบบล็อกอย่างเงียบ ๆ หลายครั้ง ลองอ่านและพิจารณากันดูครับ คิดเห็นอย่างไร มีประเด็นน่าสนใจหลายอย่าง เช่น ใครเป็นเจ้าของเนื้อหาในบล็อก ? ผู้เขียน…

  • Thailand competitiveness after Computer-related Crime Act (and after 19 Sep coup)

    ปตท.เขาถามเราบ่อย ๆ (ในโฆษณา) ว่า ประเทศเราจะอยู่ตรงไหนในแผนที่โลก ? สงสัยต้องถามปตท.กลับ ว่า แผนที่โลกยุคไหนล่ะพี่ ? ด้วยกฎหมายต่าง ๆ ของเมืองไทยในปัจจุบัน ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาในอินเทอร์เน็ต และผู้จะต้องร่วมรับผิดชอบ หากพบว่ามีเนื้อหาใด ๆ ผิดกฎหมาย (แม้จะไม่ใช่ของตัวก็ตาม) ผมไม่แน่ใจว่า นี่จะทำให้โอกาสของประเทศไทย ที่จะเป็นศูนย์กลางธุรกิจ สื่อดิจิทัล และ ดาต้าเซนเตอร์ ในระดับภูมิภาค กระทบหรือไม่ ทั้งนี้รวมถึงธุรกิจเกี่ยวเนื่อง เช่น บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ ซอฟต์แวร์ ศูนย์ข่าว (อย่างพวกรอยเตอร์ เอพี บลูมเบิร์ก) ศูนย์กระจายข้อมูล และ โครงข่ายสื่อสาร ด้วย ผมไม่แน่ใจนัก แต่คิดว่า ที่ผ่านมา ที่สำนักข่าวบางแห่ง เลือกที่จะตั้งศูนย์ภูมิภาคที่กรุงเทพ และไม่ใช่สิงคโปร์ เพราะที่ผ่านมา ชื่อเสียงเรื่องเสรีภาพสื่อของเมืองไทยดีมาก ดีกว่าทุกประเทศในภูมิภาคนี้อย่างชัดเจน — แต่ปัจจุบันนี้คงไม่ใช่แล้ว คือโดยสาธารณูปโภค โครงข่ายสื่อสาร เราคงไปสู้มาเลเซีย หรือสิงคโปร์ ไม่ได้อยู่แล้ว…

  • decentralized/distributed Internet censorship on the work in Thailand

    ประชาไท, ปิดเว็บไซต์ฟ้าเดียวกัน อ้างหมิ่นฯ (อีกแล้ว), ประชาไท, 5 ม.ค. 2551 เว็บไซต์สำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกันถูกปิด (ลองเข้าตั้งแต่เมื่อคืนวันที่ 4 ม.ค. เข้าไม่ได้ ไม่แน่ใจว่าเข้าไม่ได้ตั้งแต่ตอนไหน) บริษัทโฮสติ้งขอยกเลิกบริการ หลังถูกบริษัทดาต้าเซ็นเตอร์ที่บริษัทโฮสติ้งเช่าพื้นที่อยู่ปิดเซิร์ฟเวอร์ทั้งหมด ส่งผลให้เว็บไซต์รายอื่น ๆ ไม่สามารถดำเนินการได้ โดยอ้างว่า สำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกันซึ่งเป็นหนึ่งในเว็บไซต์ที่ให้บริการอยู่นั้น มีการหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ทำให้บริษัทโฮสติ้งจำเป็นต้องปิดเว็บไซต์ฟ้าเดียวกัน เข้าแก๊ป พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ เป๊ะ เป๊ะ การที่เว็บโฮสติ้งและผู้ให้บริการที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ จะต้องได้รับผิดไปด้วย ทำให้เกิดความกลัว ความผิดในประเด็นคลุมเครือ ตีความได้กว้างขวาง และเจ้าทุกข์ไม่จำเป็นต้องฟ้องเองก็ได้ ความกลัวที่จะต้องพลอยยุ่งยากกับข้อกล่าวหาความผิดนี้ไปด้วย (ไม่ว่าจะผิดจริงหรือไม่ก็ตาม) จึง “กันไว้ดีกว่าแก้” “ไม่อยากมีเรื่อง” “ตัดไฟแต่ต้นลม” ขอยกเลิกบริการเสียเลย ยินดีต้อนรับสู่ Thai Wide Web! เว็บบอร์ดฟ้าเดียวกัน (ชั่วคราว) http://getmorestudio.com/samesky/ กานต์ ยืนยง, การปิดเว็บไซต์ฟ้าเดียวกันเป็นเรื่องควรยินดี, พลวัต, 6 ม.ค. 2551…

  • discourse/information/communication people

    จดกันลืม บุคคลน่าสนใจ สาวิตรี คทวณิช คณะภาษาและการสื่อสาร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ discourse analysis; critical discourse analysis; language and politics นคร เสรีรักษ์ การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล : ข้อเสนอเพื่อการพัฒนาสิทธิรับรู้ข้อมูลข่าวสารในกระบวนการธรรมรัฐไทย (วิทยานิพนธ์ วิทยาลัยสหวิทยาการ มธ.) Freedom of Information and Privacy Protection in Thailand วราภรณ์ วนาพิทักษ์ มาตรการการจัดการการเผยแพร่เนื้อหาที่ไม่เหมาะสมบนอินเทอร์เน็ตของประเทศไทย (วิทยานิพนธ์ วิทยาลัยสหวิทยาการ มธ.) สมสุข หินวิมาน คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ cultural studies technorati tags: people, freedom of information, discourse analysis

Exit mobile version