-
“ข้อยกเว้น” ที่อาจทำลายหลักการของร่างกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลลงไปทั้งฉบับ #ไร้ค่า
อ่านข้อยกเว้นในร่างพ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล มองคดีศาลยุติธรรมแห่งสหภาพยุโรปตัดสินว่าข้อตกลง “Safe Habour” ระหว่างสหรัฐกับอียูเป็นโมฆะ แล้วเตือนใจตัวเองว่า ระวังอย่าให้ “ข้อยกเว้น” มาทำลายหลักการการคุ้มครองเป็นการทั่วไป ไม่อย่างนั้นมีกฎหมายไปก็เหมือนไม่มี #ไร้ค่า
-
Person API ขุดประกอบประวัติบุคคลจากอินเทอร์เน็ต
ความสามารถอันนึงของ Cobook และซอฟต์แวร์คล้ายๆ กัน อย่างตัว Contacts ของ Gmail ก็คือ มันสามารถ “merge” หรือรวมที่อยู่ติดต่อที่ซ้ำๆ กันให้มาเป็นอันเดียวได้ เช่น คนๆ นึงอาจจะมีมีหลายเบอร์โทร มีอีเมล มีทวิตเตอร์ มี LinkedIn มีบัญชีโซเชียลมีเดียอื่นๆ บางบัญชีใช้ชื่อจริง บางบัญชีเป็นชื่อเล่น ซอฟต์แวร์พวกนี้มันช่วยรวมทั้งหมดให้มาอยู่ในระเบียนเดียวกันได้ จะได้จัดการและค้นหาได้ง่ายๆ แล้วมันส่งผลกระทบอะไรกับสิทธิของผู้ใช้เน็ตอย่างเราไหม?
-
Trans-Pacific Partnership และการแก้ไขกฎหมายลิขสิทธิ์ … จะคุ้มครองทุกฝ่ายให้แฟร์ๆ ได้ยังไง?
ความคิดเห็นเรื่องความตกลงหุ้นส่วนยุทธศาสตร์ทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (TPP) จาก Susan Chalmers @susan_chalmers ผู้เชี่ยวชาญกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาและ(อดีต)ที่ปรึกษาด้านนโยบายของ InternetNZ ผู้ดูแลระบบโดเมนของนิวซีแลนด์ เรื่องสำเนาชั่วคราว การนำเข้าซ้อน การผูกขาดการค้า การขยายความคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา ความรับผิดของผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ต สิทธิบัตรซอฟต์แวร์ และความสามารถในคิดค้นนวัตกรรมและความสามารถในการแข่งขันของประเทศสมาชิก
-
#ไม่เอาพรกฉุกเฉิน
ประสบการณ์การไปอยู่ต่างประเทศอย่างหนึ่งที่มีค่าที่สุดสำหรับผมคือ การเป็น “พลเมืองชั้นสอง” อย่างเต็มตัว
-
ประกาศคณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ฉบับที่ 1
โปรดฟังอีกครั้งหนึ่ง
-
รวมบทความภาษาไทยเรื่องความเป็นส่วนตัว ข้อมูลส่วนบุคคล และสิทธิในการถูกลืม
รวมลิงก์บทความเกี่ยวกับความเป็นส่วนตัวและข้อมูลส่วนบุคคล และชวนไปงานประชุม “หน้าต่างมีหูประตูมีช่อง: ความเป็นส่วนตัวออนไลน์และการสอดส่องการสื่อสาร (Online Privacy and Communications Surviellance)” ที่มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 25 ก.ย. 2556
-
media and information literacy & citizen science: พลเมืองที่อ่านเขียนสารสนเทศเป็นกับการมีส่วนร่วมทางการเมืองผ่าน “วิทยาศาสตร์ภาคพลเมือง”
คำแปล “literate” ในภาษาไทย มีใช้กันอยู่ว่า “อ่านออกเขียนได้” เทียบได้อย่างตรงไปตรงมากับภาษาอังกฤษที่นิยามว่า “literacy” คือ “ability to read and write” คำว่า “รู้เท่าทัน” มันตก “การเขียน” ไป / ถ้าอำนาจในสังคมปัจจุบัน มาจาก ข้อมูล และ วิธีการให้เหตุผล พลเมืองเจ้าของอำนาจ ก็ควรจะเข้าไปมีส่วนร่วมได้มากขึ้น ในการสร้างข้อมูลและวิธีการให้เหตุผลพวกนั้น