Category: Informatics

  • [AI Incident Report] Wallet app failed to recognize faces, bars Thai citizens from claiming government cash handout

    Lots of Thais cannot register for the government cash handout scheme, aimed to boost local economy, as the app managing government wallet failed to recognize their faces during the authentication process. People entitled to the handout have to wait for a very long queue at their local ATMs instead to get authenticated.

  • คิดเงิน “ตามตัวอักษร” แฟร์ไหม?

    เห็นวิธีคิดเงิน API ของกูเกิล ทำให้คิดถึงการออกแบบ Unicode และ “ความเท่าเทียม” ในระบบคอมพิวเตอร์

  • แถลงการณ์ว่าด้วยการสืบย้อนผู้ใกล้ชิด (contact tracing) 19 เม.ย. 2563

    ประเด็นสำคัญเรื่องหนึ่งก็คือ เรื่อง “social graph” หรือผังความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ซึ่งสามารถสร้างขึ้นโดยการเชื่อมโยงข้อมูล – ผังความสัมพันธ์ของคนนี้เปลี่ยนแปลงช้ามาก ข้อมูลที่ถูกเก็บไปในช่วงไม่กี่เดือนนี้ ก็เพียงพอแล้วที่จะใช้กับบุคคลนั้นไปได้ตลอดชีวิต

  • การสืบย้อนคนที่เคยใกล้กัน ที่ยังรักษาความเป็นส่วนตัว ในบริบท #COVID19

    การสืบย้อนคนที่เคยใกล้กัน ที่ยังรักษาความเป็นส่วนตัว ในบริบท #COVID19

    เขียนไว้ในเฟซบุ๊กและทวิตเตอร์ ชวนคุยเรื่องแอปติดตามผู้เคยอยู่ใกล้ผู้เป็นโรคที่อาจติดต่อได้ (contact tracing) กับความอธิบายได้ทางนโยบาย การเลือกปฏิบัติ และผลกระทบที่อาจอยู่กับเราไปนานกว่าอายุของวิกฤต? TraceTogether ของสิงคโปร์ ทางสิงคโปร์ที่เราพอได้ยินจากข่าวมาบ้าง วันนี้มีโปรโตคอลกับตัวซอร์สโค้ดออกมาแล้ว BlueTrace เป็นโปรโตคอล ที่เขาใช้คำว่า “privacy-preserving cross-border contact tracing” OpenTrace เป็นแอปที่ใช้ BlueTrace (open source reference implementation) TraceTogether เป็น OpenTrace ที่ปรับแต่งเพื่อใช้ในสิงคโปร์ ทาง GovTech หน่วยงานด้านเทคโนโลยีรัฐบาลของสิงคโปร์ เล่าเรื่องของ OpenTrace ไว้ที่ 6 things about OpenTrace ไอเดียรวมๆ คือใช้บลูทูธเพื่อเก็บข้อมูลว่า เราเคยไปอยู่ใกล้ใครบ้าง (มือถือของเราเคยไปอยู่ใกล้ใครมือถือเครื่องไหนบ้าง) คือมองว่าต้องการติดตามการติดต่อที่อาจเกิดขึ้นได้ระหว่างคนสู่คนโดยตรง ดังนั้นสิ่งที่สนใจ คือการอยู่ใกล้ชิดของคน ไม่สนใจว่าคนนั้นจะไปอยู่ที่ไหน — คือเก็บเฉพาะ who ไม่เก็บ where เท่าที่ดูในข่าว Channel News…

  • ทำเว็บไซต์ให้ปลอดภัยขึ้นอีกนิดนึง ไม่ยากเกินไป ถ้าเขียนเว็บได้ก็น่าจะทำได้ #websecurity

    ทำเว็บไซต์ให้ปลอดภัยขึ้นอีกนิดนึง ไม่ยากเกินไป ถ้าเขียนเว็บได้ก็น่าจะทำได้ #websecurity

    ช่วงนี้เห็นเว็บไซต์ที่เกี่ยวกับคนใกล้ตัวโดนแฮ็กบ้าง หรือบางอันไม่ได้โดนแฮ็ก แต่เหมือนเอาของไปวางไว้หน้าบ้านรอคนมาหยิบเอาไปบ้าง เลยขอโน๊ตๆ ไว้หน่อย ถึงวิธีการป้องกันตัวเองเบื้องต้น (มากๆ) ที่คนทำเว็บน่าจะพอทำเองได้ครับ

  • อุตสาหกรรมไอทีล้มเหลวที่จะปกป้องผู้ใช้ เพราะเรา move fast and break things?

    อุตสาหกรรมไอทีล้มเหลวที่จะปกป้องผู้ใช้ เพราะเรา move fast and break things?

    “Move fast and break things.” เป็นคำขวัญที่โด่งดังของเฟซบุ๊ก เป็นหลักคิดที่ดีเพื่อการสร้างนวัตกรรม ทดลองทำ ดูว่าใช้ได้หรือไม่ เก็บข้อมูล ตรงไหนไม่ดีก็ทำใหม่ ทำซ้ำวนรอบไปเรื่อยๆ — ฟังดูโอเค แต่ถ้าเมื่อใดมันเป็นเรื่องที่จะกระทบกับสาธารณะ คุณทำแบบนี้คนจะเจ็บเยอะ

  • ประชารัฐ? มีบริการสาธารณะอะไรบ้างไหม ที่ไม่ควรให้เอกชนทำ?

    ประชารัฐ? มีบริการสาธารณะอะไรบ้างไหม ที่ไม่ควรให้เอกชนทำ?

    ความไม่สะดวกในการติดต่อราชการ ทำให้เกิดโอกาสทางธุรกิจ และทำไปทำมา พอมันกลายเป็นอู่ข้าวอู่น้ำ ก็คงมีคนไม่อยากให้ความไม่สะดวกนั้นหายไป เดี๋ยวจะหมดทางทำมาหากิน

  • National Digital ID

    กรณีโดนเอาบัตรประชาชนไปเปิดบัญชี เอาสำเนาบัตรประชาชนไปออกซิมใหม่ อาจไม่ได้หมายความว่าตัวเทคโนโลยีบัตรประชาชนไม่ดี เพราะสิ่งที่เกิดอาจเกิดตรงรอยต่อของระบบ หรือเกิดตรงคน ที่จัดการความเชื่อใจกันผิดพลาด ทึกทักกันไปเองว่าของที่ถูกส่งมาตรงหน้านั้นเชื่อถือได้

  • ตรวจสอบการจัดหาข้อมูลเข้าสำหรับระบบปัญญาประดิษฐ์

    ตรวจสอบการจัดหาข้อมูลเข้าสำหรับระบบปัญญาประดิษฐ์

    ก่อนหน้านี้มันเป็น คอมเล่มเกมกับคอมกันเอง เพื่อฝึกฝน ต่อไปมันจะเป็น คอมสร้างเกมขึ้นมาให้คนเล่นตามเกมนั้น เพื่อฝึกฝน

  • ออกแบบ User Interface และ User Experience กรณีศึกษาฉลากโภชนาการแบบใหม่ของสหรัฐ

    ออกแบบ User Interface และ User Experience กรณีศึกษาฉลากโภชนาการแบบใหม่ของสหรัฐ

    องค์การอาหารและยาของสหรัฐ (USFDA) ปรับปรุงการออกแบบของฉลากโภชนาการใหม่ ให้ชัดเจนขึ้น บอกข้อมูลที่จำเป็น ปรับปรุงข้อมูลร้อยละที่ต้องการต่อวันให้ทันสมัยมากขึ้น และปรับปรุงการระบุหน่วยบริโภคให้เป็นไปตามพฤติกรรมจริงของผู้บริโภค