Tag: Wikipedia

  • How and Why Wikipedia Works

    How and Why Wikipedia Works: An Interview with Angela Beesley, Elisabeth Bauer, and Kizu Naoko Abstract: This article presents an interview with Angela Beesley, Elisabeth Bauer, and Kizu Naoko. All three are leading Wikipedia practitioners in the English, German, and Japanese Wikipedias and related projects. The interview focuses on how Wikipedia works and why these…

  • The 1% Rule

    The 1% Rule — i.e. “you shouldn’t expect too much online” It’s an emerging rule of thumb that suggests that if you get a group of 100 people online then one will create content, 10 will “interact” with it (commenting or offering improvements) and the other 89 will just view it. “100 คนออนไลน์ — 1…

  • Crub in Thai Wikipedia

    ครับ tags: Crub, music, Wikipedia

  • Anonymous Users as Good Users

    Cathy Ma — an MPhil student, at Department of Sociology, the University of Hong Kong, doing research in internet cultural movements, copyleft, folksonomy, commons-based peer production and etc… including Wikipedia. Her research paper presented at Wikimania 2005 conference, Wikipedia – Anonymous Users as Good Users (วิกิพีเดีย – ผู้ใช้นิรนามในฐานะผู้ใช้ที่ดี) tags: Wikipedia anonymity research trust

  • Semapedia – tag the world with Wikipedia link

    อันนี้เจ๋ง Semapedia.org โดย มหาวิทยาลัยเวียนนา ออสเตรีย เดี๋ยวนี้มือถือรุ่นใหม่ ๆ บางรุ่นมันอ่าน 2D barcode ได้ ก็มีคนเอาไปประยุกต์หลายแบบ อ่านนามบัตรบ้าง อ่านโปสเตอร์โฆษณาบ้าง เช็คราคาสินค้าบ้าง ของ Semapedia นี่ เป็นการไปดึงบทความวิกิพีเดียมาให้อ่าน ตามรูปข้างบน (ถ้ามันไม่แสดง กดไปดูได้ที่เว็บเค้าเลย) วิธีใช้ ก็คือ: มีคนสร้าง 2D barcode tag ขึ้นมาก่อน โดยใส่ url ของบทความของสถานที่ เข้าไปที่เว็บ Semapedia (เช่น th.wikipedia.org/wiki/วัดพระแก้ว) เอา tag อันนั้นไปแปะที่สถานที่ตามบทความ (ระวังโดนจับ :P) คนผ่านไปมา เห็นเข้า ก็เอามือถืออ่านเจ้า tag นั่น มือถือก็ส่ง tag นี้ไปให้ Semapedia Reader (Java ME) แล้วก็ไปดึงบทความจากวิกิพีเดียมาแสดงให้ดู ……

  • Nice guy syndrome

    อะโห วิกิพีเดียเดี๋ยวนี้ มีเรื่องความรักด้วย … อาการดีเกินไป (Nice guy syndrome) เป็นคำจำกัดความทางจิตวิทยาบรรยายลักษณะของเพศชาย ที่มีปัญหาในการมีคู่ โดยมีที่มาจากคำพูดของเพศตรงข้ามว่า “ดีเกินไป” (ตัวอย่าง เธอเป็นคนดีเกินไป แต่เราไม่สามารถเป็นแฟนกันได้ มาคบกันเป็นเพื่อนเถอะ) ซึ่งเกิดจากความรู้สึกของเพศตรงข้ามเปรียบเทียบลักษณะ “ผู้ชายที่ดีเกินไป” ไม่เข้าใจการเติบโต การวางตัวต่อเพศตรงข้าม และเรื่องราวของการมีชีวิตคู่ รวมไปถึงไม่สามารถสร้างความสัมพันธ์โรแมนติค ลักษณะของบุคคลที่อยู่ในอาการดีเกินไป ส่วนมากจะมีจิตใจดีงาม ชอบช่วยเหลือผู้อื่น มักจะมีปัญญาสูงกว่าบุคคลทั่วไป เชื่อมั่นในความคิดตัวเอง ในขณะเดียวกันก็ขาดความเข้าใจในความคิดของผู้หญิง ขาดความเข้าใจในเรื่องของสังคมมนุษย์ และในหลาย ๆ ครั้งจะขาดความมั่นใจในเรื่องความรัก การแสดงออกจะออกมาในลักษณะ การช่วยเหลือหรือเสนอตัวช่วยเหลือ ไม่ว่าเพศตรงข้ามจะต้องการหรือไม่ แสดงให้เห็นถึงการกระทำที่ตอบสนองความต้องการของตัวเอง (ที่ต้องการแสดงออก โดยการช่วยเหลือ) การพูดจาจะแสดงออกมาในลักษณะการฟังมากกว่าการพูด และเมื่อใดที่เพศตรงข้ามต้องการถอนตัวออกจากความสัมพันธ์ อาการทางจิตใจจะทำให้เกิดเข้าใจที่ตัดพ้อต่อว่าเพศตรงข้าม และในหลายๆ เหตุการณ์ถ้าเพศตรงข้ามเกิดความสัมพันธ์ใหม่กับผู้ชายคนอื่น ที่มีลักษณะท่าทางไม่ดี ผิดแปลกไปจากตน จะทำให้เกิดความตัดพ้อต่อว่าเพศตรงข้าม และฝังความคิดว่า “ผู้หญิงในโลกรักแต่คนไม่ดี” ในขณะที่เพศตรงข้ามต้องการบุคคลที่สามารถวางตัวในสังคม และมีความมั่นคงทางอารมณ์ มีใคร “โดน” มะ ? 😛…

  • Wikitruth

    Censorship is everywhere, including our belove-hated encyclopedia. Wikitruth … things that not deserved for Wikipedia, but you deserved to know about. Guardian: A thirst for knowledge

  • Taking Back the Web, with Cautions

    ช่วงนี้มีคนพูดถึง Web 2.0 บ่อยขึ้นทุกที บางคนคิดว่ามันหมายถึงเทคโนโลยีอย่าง AJAX, อินเทอร์เฟสที่ลื่นไหลขึ้น โต้ตอบได้ทันใจ ทำให้การใช้งานเว็บสะดวกขึ้น มีการพูดถึงว่า ต่อไปเราจะทำทุกอย่างได้ในเว็บเบราเซอร์ (ตอนนี้ก็มีทั้งโปรแกรมอีเมล ตารางนัดหมาย ประมวลคำ ตารางคำนวณ ฯลฯ) แต่แค่เทคโนโลยีอย่างเดียวจริง ๆ เหรอ ที่ทำให้คนสนใจ Web 2.0 ? เพราะจะว่าไป ไอ้เจ้าเทคโนโลยีทั้งหลายใน Web 2.0 นั้น ไม่ได้เป็นของใหม่เลย มันมีมานานแล้ว แล้วสิ่งที่ใหม่คืออะไรล่ะ ? ก็คือมุมมองในการใช้เทคโนโลยีเหล่านั้นนั่นเอง ที่เป็นของใหม่ หัวใจของ Web 2.0 อยู่ที่ “คน” เพื่อคน และโดยคน เมื่อเปรียบเทียบกับ “Web 1.0” ที่หัวใจอยู่ที่เนื้อหา(ทางเดียว) เพื่อการค้่า และโดยผู้จัดพิมพ์รายใหญ่ (ส่วน “Web prototype” นั่น หัวใจคงเป็นเรื่องการวิจัย เพื่อความมั่นคง และโดยรัฐ) สิ่งที่สร้าง…

  • วิกิพีเดียไทยกำลังถูกเพ่งเล็ง

    และนั่นก็เป็นเรื่องที่ดี พยายามแย็บ ๆ เรื่องวิกิพีเดียไปยังหลาย ๆ คน หลาย ๆ ที่อยู่ เขียนคนเดียวมันได้ไม่เท่าไหร่หรอก (แต่ต้องเขียน ไม่งั้นคนอื่นมาถามก็ตอบไม่ได้ แนะไม่ได้) ต้องชวนคนอื่นมาเขียนกันเยอะ ๆ ความชำนาญจะได้หลายหลาย เรื่องที่เขียนจะไม่กระจุกกลุ่ม และมุมมองจะได้กว้าง ในนั้นพูดถึงว่า สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.) อาจจะสนับสนุนวิกิพีเดียก็ได้ — ถ้าได้จริงก็ดีครับ (ไม่ได้ก็ไม่เป็นไร) วิกิพีเดียคืออะไร ? มันคือสารานุกรมที่คุณเข้าไปอ่านได้ฟรี และคุณเองก็ช่วยเขียนได้ด้วย — รับชมโฆษณา

  • Thai Wikipedia

    โฆษณา: วิกิพีเดียไทย