Tag: urban planning

  • ค้าปลีกดิจิทัล – การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้เสีย

    ค้าปลีกดิจิทัล – การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้เสีย

    มองหาผู้มีส่วนได้ที่เกี่ยวของกับการค้าปลีกในยุคดิจิทัล เรื่องนี้ไปเกี่ยวกับเรื่องซอยเปลี่ยวได้ไหม

  • “ออกไป! ออกไป!” เมื่อคนซานฟราน ชัตดาวน์รถรับส่งพนักงานของกูเกิล

    เดินไปไหนย่อมมีรอยเท้า แต่บริษัทพวกนี้ตัวใหญ่ไปหน่อย ตีนเลยหนัก แถม “เผลอ” ไปเดินบนหัวชาวบ้านด้วย

  • [โน๊ต] ใครเป็นเจ้าของอินเทอร์เน็ต?

    ความเป็นเจ้าของของพื้นที่ต่างๆ บนเน็ต ก็ส่งผลต่อสิทธิเสรีภาพในพื้นที่นั้นๆ และพื้นที่ที่เชื่อมต่อด้วย

  • #MRT และ #BTS ต้องมีจุดขายตั๋วนอกสถานี — เพิ่มความเร็ว ลดความ #fail

    ทั้ง MRT และ BTS ควรมีจุดซื้อตั๋วที่อยู่นอกตัวสถานีเสียที ไม่ว่าจะที่หน้าสถานีชั้นผิวถนน ร้านสะดวกซื้อ ไปรษณีย์ และช่องทางเติมเงินที่เอทีเอ็มหรือออนไลน์ ให้คนไปต่อแถวในสถานีน้อยที่สุด เพิ่มอัตราการเคลื่อนย้ายคน

  • ปัญหาของคนเมือง

    ดูจากที่เพื่อนเฟซหลายคนแชร์ๆ มีคนจำนวนหนึ่ง อยากได้รถไฟดีๆ + ไม่สนับสนุนให้กู้เงิน + อยากให้มักกะสันเป็นสวนสาธารณะ .. พร้อมๆ กัน จะเอาเงินจากไหนครับ?

  • #IGF12 Floor Plan: A Good #Fail Of Top-Down Planning for Public Space

    As much we need more people who actually walk at the street level to take part in the urban planning process, we need more civil society, businesses, academics, and most important of all, the people in the network, in the policy making process for Internet.

  • เราไม่ได้ออกแบบกันชนที่มีถุงลมเพื่อรักษาชีวิตคนอีกฝั่งของกระจก

    เมื่อเท้าเราเหยียบอยู่บนกระเบื้องปูถนนที่หลุดร่อน เมืองที่เราสัมผัสเป็นแบบหนึ่ง เมื่อตัวเราอยู่ในรถและมองออกไป เมืองที่เราเห็นก็เป็นอีกแบบ ความรู้สึกกับเมืองที่ 60 กม./ชม. ย่อมต่างไปจากความรู้สึกกับเมืองที่ 4 กม./ชม. … ความตายของคนเดินเท้านั้นเป็นเพราะความโง่งี่เง่าของพวกเขาเอง เราไม่ได้ออกแบบกันชนที่มีถุงลมเพื่อรักษาชีวิตคนอีกฝั่งของกระจก

  • rent a house = high mobility ?

    เวลานั่งรถไฟฟ้า นั่งรถไปไหนมาไหน มองเห็นตึกแถวใช้ประโยชน์ไม่เต็มที่เยอะแยะมากมายในกรุงเทพ ตึกแถวต่าง ๆ น่าจะมีการใช้ประโยชน์ให้คุ้มค่ากว่านี้ จะได้ไม่ต้องสร้างตึกใหม่ให้เปลืองทรัพยากร ทำเป็น mixed use ซะ ใช้หลายประสงค์ ถือครองร่วมกันหลายคนหลายครอบครัวหรือเจ้าของตึกแบ่งเช่า ชั้นล่างให้เช่าเป็นร้านค้า/สำนักงาน ชั้นบน ๆ แบ่งชั้นให้แต่ละครอบครัวเช่า ชั้นดาดฟ้าบนสุดใช้ร่วมกัน เป็นลานซักล้าง-ตากผ้า หรือถ้าตึกข้างเคียงจะตกลงเปิดดาดฟ้าต่อกันก็ได้-ทำเป็นลานนั่งพักผ่อน/ทำกิจกรรม (ข้างล่างไม่มีที่) ถ้าจะทำ ต้องปรับปรุงเรื่องประตูเข้าออก ทางขึ้นลง ให้สะดวกกับทุกฝ่าย แบบนี้ ตึกแถวห้องหนึ่งอาจอยู่ได้ถึงสามสี่ครอบครัวเล็ก ๆ ตามลักษณะครอบครัวคนทำงานรุ่นใหม่ในเมือง อีกเรื่องที่เกี่ยวข้อง ที่จะทำให้เรื่องข้างบนเป็นไปได้มากขึ้น คือ ค่านิยมเรื่อง “เช่าบ้าน = ไม่มั่นคงในชีวิต” น่าจะปรับเปลี่ยนเป็น “เช่าบ้าน = คล่องตัวสูง” มี mobility เคลื่อนย้ายสะดวก ซึ่งน่าจะเหมาะกับลักษณะชีวิตคนทำงานรุ่นใหม่มากกว่า ที่ย้ายสถานที่ทำงานบ่อยครั้ง (ทั้งจากการย้ายองค์กร หรืออยู่ในองค์กรเดิมแต่ต้องเดินทางเปลี่ยนที่ทำงาน) ทั้งตอบสนองความต้องการที่จะมีบ้านอยู่ใกล้ที่ทำงาน เพื่อความสะดวก ลดค่าเดินทาง ประหยัดเวลา เพิ่มคุณภาพชีวิต (สามารถย้ายบ้านตามที่ทำงานได้สะดวก ไม่ต้องห่วงเรื่องซื้อขายบ้าน หรือทำสัญญาระยะยาว)…

  • Jaime Lerner: Sing a song of sustainable cities

    TED Talk – Jaime Lerner: Sing a song of sustainable cities ชอบไอเดียเรื่องเอาระบบขึ้นลงรถไฟฟ้า มาใช้กับรถเมล์ (ทำป้ายรถเมล์ให้คล้าย ๆ ที่รอรถไฟฟ้า ทำประตูรถเมล์ให้มีหลาย ๆ ประตูแบบรถไฟฟ้า) แล้วเชื่อมทั้งรถไฟฟ้าและรถเมล์เข้าด้วยกัน — “ระบบเดียวกัน ต่างกันแค่พาหนะ” technorati tags: city, Brazil, traffic system, TED

  • aesthetic of gravity

    สุนทรียศาสตร์ของแรงโน้มถ่วง เรียบเรียงจาก Pierre von Meiss (2000), The Aesthetic of Gravity, Architectural Research Quarterly; Volume 4 /NO.3, London: Cambridge Press โดย post-metropolis — บล็อกนักเรียนไทย การผังเมือง คาสเซิล เยอรมนี [ ผ่าน romance was not built in one day ] technorati tags: aesthetic, gravity, urban planning