พบสิ่งบันเทิงใจจาก Planet TLWG
พี่เทพ โพสต์เล่าเรื่องบทความ การคิดแบบโอเพนซอร์ส
(Open Source Thinking) ใน วารสาร OpenSource2Day ฉบับที่ 13 และย้อนอ้างถึงโพสต์ที่พี่เทพเคยเขียนไว้เมื่อ 3 ปีที่แล้ว เกี่ยวกับวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมโอเพ่นซอร์ส
พบสิ่งบันเทิงใจจาก Planet TLWG
พี่เทพ โพสต์เล่าเรื่องบทความ การคิดแบบโอเพนซอร์ส
(Open Source Thinking) ใน วารสาร OpenSource2Day ฉบับที่ 13 และย้อนอ้างถึงโพสต์ที่พี่เทพเคยเขียนไว้เมื่อ 3 ปีที่แล้ว เกี่ยวกับวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมโอเพ่นซอร์ส
ฝากบอกต่อครับ
ริชาร์ด สตอลล์แมน ผู้ริเริ่มแนวคิด copyleft
และ ซอฟต์แวร์เสรี
จะปาฐกถาเปิดงานซอฟต์แวร์เสรีเพื่อการศึกษา FLossEd BK ศุกร์ 30 ตุลานี้ 19:30น. ที่โรงเรียนนานาชาติ เค.ไอ.เอส. ห้วยขวาง [แผนที่]
(เงื่อนไขสู่วัฒนธรรมเสรี)
ขอคิดต่อจากพี่เทพ
…
เป็นไปได้ว่า เหตุหนึ่งที่ free culture หรือ วัฒนธรรมเสรี นั้นยังไม่แพร่หลายหรือไปไม่ถึงไหนในบางสังคม ก็เพราะ วัฒนธรรมในสังคมนั้น ๆ ไปกันไม่ได้กับแนวคิด เสรี
เป็นพื้นฐานของวัฒนธรรมเสรี
ประวัติความเป็นมาของกลุ่ม Thai Linux Working Group (TLWG) และเว็บไซต์ Linux.Thai.Net (LTN)
เขียนโดยพี่อ็อท ภัทระ เกียรติเสวี (Ott) ซึ่งเป็นหนึ่งในผู้ริเริ่มจัดทำเว็บไซต์ดังกล่าว พี่อ็อทมีส่วนร่วมกับการพัฒนาลีนุกซ์ในเมืองไทยตั้งแต่ช่วงแรก ๆ คือ Linux-SIS
ผมกำลังทำการบ้านอยู่ครับ จะทำเรื่องวัฒนธรรมแฮกเกอร์ในเมืองไทย ใครมีข้อมูลบอกมาเลยนะครับ ผมอาจจะขอสัมภาษณ์ด้วยใครอยู่ในยุคบีบีเอส ยุค ZzzThai, LTN, TLWG พวกนี้ เรื่อยมาจน LinuxTLE, ปลาดาวออฟฟิศ, OfficeTLE, มาถึง Blognone และ *Camp ต่าง ๆ ใครเคยเห็นงานทำนองนี้หรือที่เกี่ยวข้องที่ไหนก็แจ้งมาได้เลยครับ — และแน่นอนว่าถ้าเห็นว่ามีอะไรผิดหรือไม่น่าจะใช่ ก็ท้วงได้เลยนะครับ — ขอบคุณมาก ๆ (ส่งต้น ๆ เดือนตุลา)
Let’s close Firefox Thai bug reports
บรรยากาศ ปิดงานบั๊กภาษาไทยในไฟร์ฟอกซ์ ตอนนี้คึกคัก (เช่นคุณ kengggg ที่วันนี้กระหน่ำ add cc บั๊กต่าง ๆ :P)
ซึ่งหลาย ๆ คนก็ได้พยายามประชาสัมพันธ์เรื่องนี้ ให้มาช่วยทดสอบกันหน่อย เพราะที่ผ่านมา มีการแก้ไขไปแล้วหลายส่วน แต่ยังไม่มีการทดสอบกันเท่าไหร่นัก ทำให้บางบั๊กยังปิดไม่ได้ (เพราะไม่แน่ใจว่าแก้ได้จริงรึยัง หรือแก้อันนี้แล้วไปทำให้เกิดบั๊กที่อื่นรึเปล่า ฯลฯ) ซึ่งก็มีทั้งการส่งเมลหากัน หรือบอกกล่าวกันในบล็อก เช่นทีมาร์คโพสต์ไป 3 ที่ (ความเห็นของมาร์คและหลาย ๆ คนในโพสต์นั้น น่าสนใจ ลองไปอ่านกันดู จะเห็นทัศนคติที่หลากหลาย)
ไปดูการศึกษาว่าโค้ดต่าง ๆ ใน FLOSS (ซอฟต์แวร์เสรี/ซอฟต์แวร์ต้นรหัสเปิด) มีที่มาจากไหนกันครับ
การศึกษานี้เป็นส่วนหนึ่งของรายงานที่จัดทำโดยสหภาพยุโรป
Rishab Aiyer Ghosh (November 20, 2006).
Study on the: Economic impact of open source software on innovation and the competitiveness of the Information and Communication Technologies (ICT) sector in the EU [PDF]
the European Communities.
การศึกษานี้ ใช้ Debian 3.1 (รุ่นปี ค.ศ. 2005) ซึ่งเป็นชุดลีนุกซ์ยี่ห้อหนึ่ง เป็นกรณีศึกษา
ตารางแรก ดูว่ามหาวิทยาลัย/ศูนย์วิจัยที่ไหน ที่มอบโค้ดให้กับ FLOSS (Debian) เยอะที่สุด
(ผมคงเลขตารางไว้เหมือนกับต้นฉบับ เพื่อให้ง่ายต่อการอ้างอิง)
คำว่า “Regents Of The University of California” ในตาราง คือองค์กรที่ดูแลมหาวิทยาลัยในระบบ University of California ทุก ๆ มหาวิทยาลัย (Berkeley, San Diego, …) ในตารางนี้จะนับทั้งหมดรวมกัน
Table 4: Contribution of FLOSS code by selected universities Rank Person-months University / research institution 1 4955 Regents Of The University Of California 2 4774 Massachusetts Institute Of Technology 3 1687 Carnegie Mellon University 4 1340 University Of Chicago 5 1009 INRIA (France) 6 982 University Of Amsterdam (the Netherlands) 7 870 Stichting Mathematisch Centrum Amsterdam (the Netherlands) 8 551 Ohio State University 9 518 University Of Utah 10 505 University Of Notre Dame
บันทึกการบรรยาย โดย ริชาร์ด สตอลแมน ที่ ซาเกร็บ โครเอเชีย เมื่อ 6 มี.ค. 2549
พูดถึงเรื่อง GNU, FSF, เสรีภาพ, ซอฟต์แวร์เสรี, Unix, Linux, “Treacherous Computing” (คอมพิวเตอร์ที่ทรยศ), กฎหมาย DMCA และ EUCD, สิทธิบัตรซอฟต์แวร์, ซอฟต์แวร์เสรีกับโรงเรียน, และความเห็นต่อ Mono, BSD, Creative Commons ฯลฯ
รวมบทความเกี่ยวกับ วัฒนธรรมแฮ็กเกอร์ ซอฟต์แวร์เสรี และโอเพนซอร์ส
สำรวจ วัฒนธรรมแฮกเกอร์ ซึ่งเป็นจุดกำเนิดของวัฒนธรรมซอฟต์แวร์เสรี และกระบวนโอเพนซอร์ส
เพื่อทำความเข้าใจด้านที่นอกเหนือไปจากเรื่องเทคโนโลยี ของ การเคลื่อนไหวซอฟต์แวร์เสรี
บทความทั้งหมดนี้ เขียน/แปลโดยอาสาสมัครจาก (หรือมีความเกี่ยวข้องกับ) linux.thai.net ชุมชนซอฟต์แวร์เสรีรุ่นบุกเบิกชุนชนหนึ่งของไทย
(ขอรวมมันที่เดียวเลยละกัน ไปตามแก้โพสต์ก่อน ๆ แล้วงง – -“)
รายงาน TLUG
รายงาน มัลติมีเดีย และรวมลิงก์ที่เกี่ยวข้อง ที่เว็บ Blognone
TLUG Resurrection
รายงานประเด็นต่าง ๆ ในงานเสวนา โดย เทพพิทักษ์ การุญบุญญานันท์