Tag: data protection

  • ออกแบบอำนาจ: อ่านโครงสร้างคณะกรรมการในกฎหมายไทย

    คำถามที่อยากค้นหาคือ เราจะดูตรงไหนได้บ้าง ว่าคณะกรรมการหนึ่งๆ มีกระบวนการสรรหาที่อย่างเหมาะสม ไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อน มีอิสระในการทำงาน มีอำนาจในการทำงาน และอำนาจนั้นมีกลไกตรวจสอบชัดเจน ก็เลยไปดูในกฎหมายว่าเขาออกแบบโครงสร้างอำนาจกันอย่างไร

  • “ข้อยกเว้น” ที่อาจทำลายหลักการของร่างกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลลงไปทั้งฉบับ #ไร้ค่า

    “ข้อยกเว้น” ที่อาจทำลายหลักการของร่างกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลลงไปทั้งฉบับ #ไร้ค่า

    อ่านข้อยกเว้นในร่างพ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล มองคดีศาลยุติธรรมแห่งสหภาพยุโรปตัดสินว่าข้อตกลง “Safe Habour” ระหว่างสหรัฐกับอียูเป็นโมฆะ แล้วเตือนใจตัวเองว่า ระวังอย่าให้ “ข้อยกเว้น” มาทำลายหลักการการคุ้มครองเป็นการทั่วไป ไม่อย่างนั้นมีกฎหมายไปก็เหมือนไม่มี #ไร้ค่า

  • Person API ขุดประกอบประวัติบุคคลจากอินเทอร์เน็ต

    ความสามารถอันนึงของ Cobook และซอฟต์แวร์คล้ายๆ กัน อย่างตัว Contacts ของ Gmail ก็คือ มันสามารถ “merge” หรือรวมที่อยู่ติดต่อที่ซ้ำๆ กันให้มาเป็นอันเดียวได้ เช่น คนๆ นึงอาจจะมีมีหลายเบอร์โทร มีอีเมล มีทวิตเตอร์ มี LinkedIn มีบัญชีโซเชียลมีเดียอื่นๆ บางบัญชีใช้ชื่อจริง บางบัญชีเป็นชื่อเล่น ซอฟต์แวร์พวกนี้มันช่วยรวมทั้งหมดให้มาอยู่ในระเบียนเดียวกันได้ จะได้จัดการและค้นหาได้ง่ายๆ แล้วมันส่งผลกระทบอะไรกับสิทธิของผู้ใช้เน็ตอย่างเราไหม?

  • รวมบทความภาษาไทยเรื่องความเป็นส่วนตัว ข้อมูลส่วนบุคคล และสิทธิในการถูกลืม

    รวมลิงก์บทความเกี่ยวกับความเป็นส่วนตัวและข้อมูลส่วนบุคคล และชวนไปงานประชุม “หน้าต่างมีหูประตูมีช่อง: ความเป็นส่วนตัวออนไลน์และการสอดส่องการสื่อสาร (Online Privacy and Communications Surviellance)” ที่มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 25 ก.ย. 2556

  • [jobs] โครงการวิจัยความเป็นส่วนตัวออนไลน์ รับสมัครงาน 2 ตำแหน่ง

    เครือข่ายพลเมืองเน็ต รับสมัครเจ้าหน้าที่วิจัย 2 ตำแหน่ง ประจำโครงการ “Thai Online Services’ Privacy Policy and Security Measures: Evaluation and Public Understanding” โครงการนี้จะสำรวจนโยบายความเป็นส่วนตัว (privacy policy) และมาตรการรักษาความปลอดภัย (security measures) ของบริการออนไลน์ในประเทศไทย และทำการจัดระดับในรูปแบบเข้าใจง่าย เพื่อให้ผู้บริโภคใช้ประกอบการตัดสินใจเลือกใช้บริการ

  • กรณีหน้าเว็บกระทรวงวัฒนธรรม “ถูกแฮ็ก” / ผู้ดูแลระบบควรรับผิดด้วยไหม?

    จากกรณีหน้าเว็บกระทรวงวัฒนธรรม “ถูกแฮ็ก” หลังช่องสามประกาศงดฉายละคร “เหนือเมฆ 2” ต่อ และล่าสุดมีคนพบว่ามีลิงก์ไปเว็บรับพนันบอลบนหน้าแรกของเว็บกระทรวงด้วย ก็คิดๆ น่ะครับ ว่าคนเจาะนั้นเก่ง หรือว่าเว็บไซต์หน่วยงานรัฐไทยน่ะ ระบบรักษาความปลอดภัยห่วย ผมพยายามตอบบางคำถามที่ถามกันบ่อย พร้อมตั้งข้อสังเกตและข้อเสนอ ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับการแก้ไขพ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ และการเสนอร่างพ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล