-
Global Civil Society 2007/8: Communicative Power and Democracy [PDF]
The Global Civil Society Yearbook is an annual publication produced by the Global Civil Society Programme at the Centre for the Study of Global Governance at the London School of Economics (LSE). The 387-page volume for 2007-2008 explores advances in technology, stating that they have enhanced global mass media and permitted private worldwide communication while…
-
democratic potential of Internet in South Korea, lecture by Yoohee Kim
Democratic Potential of Internet in South Korea special lecture by Yoohee Kim Tuesday, July 29, 2008. 15:00-16:30 @ room 3003, SC building, Thammasat University, Rangsit Campus more info: 0-2564-5000 www.asia.tu.ac.th ศักยภาพประชาธิปไตยของอินเทอร์เน็ตในเกาหลีใต้ บรรยายพิเศษ โดย ยูฮี คิม (Yoohee Kim) (บรรยายเป็นภาษาอังกฤษ) อังคารที่ 29 ก.ค. 2551 15:00-16:30 น. @ ห้อง 3033 อาคารกลุ่มสังคมศาสตร์ (SC) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ข้อมูลเพิ่มเติม: 0-2564-5000 www.asia.tu.ac.th จัดโดย…
-
Science Culture in Thailand – Translators as Cultural Workers
นักแปล คือ ผู้ทำงานทางวัฒนธรรม (ผมยืมมาจากชื่อหนังสือ “ครูในฐานะผู้ทำงานทางวัฒนธรรม” – Teachers as Cultural Workers) เป็นผู้เชื่อมวัฒนธรรมที่แตกต่างกันเข้าหากัน ไม่ว่าจะแปลจากภาษาฝรั่งเศสไปเป็นเยอรมัน เยอรมันไปเป็นอังกฤษ หรือภาษาเฉพาะกลุ่มไปเป็นภาษาทั่วไป (จริง ๆ ก็ไม่ใช่แค่“นักแปล” ทุกคนที่แปลนั่นแหละ – การแปล คือ กิจกรรมทางวัฒนธรรม จะว่าแบบนี้ก็ได้) สำคัญนะครับ แนวคิดจากวัฒนธรรมต่าง ๆ ที่ไหลเวียนหากันนี่ มันทำให้เกิดการปะทะสังสรรค์ของแนวคิด และเปลี่ยนแปลงโลกในทุกยุคสมัย แนวคิดปรัชญาธรรมชาติจากยุครู้แจ้งของสกอตแลนด์ พวกฮูม ไหลเข้าสู่เยอรมนี แนวคิดสัญญวิทยาจากฝรั่งเศส ไหลไปสู่เยอรมนี (จากที่ก่อนหน้านี้งานของพวกนิทเช่หรือคานท์ ก็ไปมีอิทธิพลต่อแนวคิดของฟูโกต์) แนวคิดของมาร์กซจากเยอรมนีไหลกลับไปสู่อังกฤษ (จากที่ก่อนหน้านี้แนวคิดของ อดัม สมิธ ก็ไหลไปมีอิทธิพลต่อแนวคิดของมาร์กซ) การไหลเวียนพวกนี้มันก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวิทยาการทั้งนั้น มันมีการนำเข้าและปรับใช้เกิดขึ้นตลอดเวลา เฟืองเล็ก ๆ ที่สำคัญในกระบวนการนี้ คือการแปลครับ การแปลข่าววิทยาศาสตร์เป็นเรื่องยาก ยิ่งได้ลองทำแล้วยิ่งได้รู้ว่ามันยาก เอาแค่เรื่องเดียวคือเรื่องศัพท์เทคนิค ที่พอไปค้นความหมายมาแล้ว เข้าใจว่ามันคืออะไรแล้ว ก็ยังต้องค้นต่อไปว่า เขาเรียกว่าอะไรในภาษาปลายทาง เช่น…
-
New German Data Retention Act
เชกูวาราเขียน เยอรมันสอดแนม ที่ BioLawCom.de เป็นเรื่อง กฎหมายใหม่ของเยอรมนี ที่กำหนดให้ผู้ให้บริการโทรคมนาคมต้องเก็บข้อมูลจราจรของผู้ใช้บริการ เป็นเวลา 6 เดือน (คุ้น ๆ เหมือนพ.ร.บ.คอมฯ ของบ้านเรามั๊ยครับ ?) วันที่ 9 พฤศจิกายน 2007 รัฐสภาเยอรมันผ่านกฎหมายแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายต่าง ๆ เพื่อควบคุมตรวจสอบการติดต่อสื่อสาร และเป็นประโยชน์ต่อการสอบสวนความผิด มาฉบับหนึ่งครับ ท่ามกลางเสียงประท้วงจากคนเยอรมันนับพันนับหมื่นคน เพราะในกฎหมายฉบับดังกล่าว มีบทบัญญัติใหม่ ที่กระทบสิทธิพวกเขาอย่างมากบรรจุอยู่ด้วย “Vorratsdatenspeicherung” (Data-Retention) เป็นคำเรียกรวม ๆ ที่หมายถึง การกำหนดหน้าที่ให้ผู้ให้บริการการโทรคมนาคม ต้องเก็บสำรอง “ข้อมูลจราจรทางการติดต่อสื่อสาร” (Traffic Data) ของประชาชนผู้ใช้บริการทุกคนเอาไว้เป็นระยะเวลา 6 เดือน ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ในการสอบสวนการกระทำความผิด …ก็คือข้อกำหนดเจ้าปัญหาที่ว่า ข่าวจาก European Digital Rights และ Deutsche Welle: German Parliament adopted the data…
-
Innovative Communication @ ITU Copenhagen
ITU Copenhagen เค้าเปิดรับสมัครปริญญาเอกอยู่นะครับ มีทุน ใครสนใจก็ไปดูรายละเอียด ผมเห็นหัวข้อของกลุ่ม Innovative Communication แล้ว โอว น่าเรียนจริง (โดยเฉพาะ 5. “Uses of online media genres in political communication” กับ 7. “User generated content (identity/interpersonal relations/fiction/storytelling)”) ส่วน FMKJ – Danish National Research School for Media, Communication, and Journalism ก็น่าสนใจไม่แพ้กัน IT + new media + communication and media studies + digital culture studies ไปถึงนั่นกันแล้ว…
-
Design Police
“Bring bad design to justice.” ออกแบบมึน ๆ อย่าเผลอ ไม่งั้นจะเจอตำรวจดีไซน์จับ! Design Police ไอเดียเก๋ ๆ เพื่อสุขภาพทางสายตา Design Police ชวนคุณมาร่วมเป็นตำรวจดีไซน์ ด้วยอุปกรณ์ง่าย ๆ รูปลอก 5 ชุด แต่ละชิ้นมีข้อความแจ้งข้อผิดพลาดที่มักพบบ่อย ๆ ในงานออกแบบ เช่น “อย่าใช้ faux bold” “พิมพ์ผิด” “เฮลเวติก้าอีกแล้วเหรอ ?” “ใช้กริดซะ” “สงสัยต้องใช้กล้องจุลทรรศน์ส่อง” “ไร้บุคลิก” หรือ “หยุดใช้ Word Art เดี๋ยวนี้” — เกือบทั้งหมดจะเน้นที่ communication design ใครอยากเล่นก็ไปดาวน์โหลดมาเล่นกันได้ แปะมันให้ทั่วเมืองเลย (น่ากลัวว่า ถ้ามันฮิตจริง ๆ ที่เมืองไทย information graphic ป้ายต่าง ๆ ที่สุวรรณภูมิคงจะโดนหนักไม่ใช่น้อย!)…
-
See All Scene 2007
See All Scene 2007 creative exhibits from KMITL Communication Arts students September 14-16, 2007 @ Esplanade, Ratchada (MRT station Thailand Cultural Center) 100%cotton wrote: 14 ถึง 16 กย. มีงาน see all scene ของนิเทศศิลป์ลาดกระบังน่อ.. เป็นงานรวมผลงานของเด็กนิเทศศิลป์ลาดกระบังมาจัดแสดง..ดนตรี หนังสั้น แฟชั่น… (ก็เอาเป็นว่าเป็นผลงานของพี่ๆ น้องๆ เพื่อนๆ เฮาเอง-*- …) จัดที่เอสพานาด รัชดาน่อ… ว่างๆ ก็มาน๊า…!!!! รายละเอียดบางส่วนไปอ่านได้ที่บลอคของ เพื่อนเฮาได้… http://browny.exteen.com/ [ via 100%cotton ] technorati tags: exhibtions,…
-
Don’t put all your eggs in the Internet
อย่าแม้แต่จะคิดพึ่งพิงช่องทางใดช่องทางหนึ่งเป็นหลัก เตรียมหาทางเลือก ทางสำรองเอาไว้ตลอดเวลา เมื่อวานและวันนี้ อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยยังอยู่ในสภาพพิการ เข้าได้บ้างไม่ได้บ้าง และช้าอืด พื้นที่สาธารณะ สื่อพลเมือง เวทีประชาธิปไตย ฯลฯ อะไรก็ตาม อินเทอร์เน็ตคือโอกาส แต่ไม่ใช่คำตอบเบ็ดเสร็จที่จะโถมตัวเข้ามาหมด วิทยุชุมชน ทีวีชุมชน หนังสือพิมพ์ท้องถิ่น ศาลาประชาคม วัด โรงเรียน เหล่านี้ยังมีความสำคัญเสมอ นอกจากจะมองมันเป็น “ทางสำรอง” สำหรับคนเมืองผู้มีอินเทอร์เน็ตบรอดแบนด์แล้ว มันยังเป็น “ทางหลัก” ในอีกหลายพื้นที่ ที่แม้แต่คอมพิวเตอร์ก็ยังไม่มีด้วย (เลิกหวังกับ แลปทอปร้อยเหรียญ ได้แล้ว — รัฐบาลกลัวอะไร?) ส่วนตัวการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตของไทยเอง ก็ควรจะทบทวนด้วยไหม ว่าได้เทน้ำหนักการเชื่อมต่อออกต่างประเทศไปกับประเทศใดประเทศหนึ่ง เส้นทางใดเส้นทางหนึ่ง มากเกินไปไหม มีเส้นทางสำรอง เส้นทางทางเลือก ที่พอเพียงหรือไม่ ? หากเกิดภัยธรรมชาติสร้างความเสียหายให้กับเส้นทางบางเส้นทาง เส้นทางที่เหลือจะยังรองรับการจราจรที่เพิ่มขึ้นคับคั่งขึ้นได้หรือไม่ ? ทั้งที่เพิ่มขึ้นโดยธรรมชาติ จากการที่ต้องแบกรับการจราจรจากเส้นทางอื่นที่เสียไป และที่เพิ่มขึ้นจากความตื่นตระหนกของผู้คน เช่น ตอนที่เกิดสึนามิเมื่อสองปีก่อน การจราจรบนอินเทอร์เน็ตก็พุ่งขึ้นสูงทันที ทุกคนอยากรู้ข่าว แน่นอนว่า เส้นทางสำรอง เส้นทางทางเลือก…
-
Wasting Collaboration
😛 WASTE is an anonymous, secure, and encryped collaboration tool which allows users to both share ideas through the chat interface and share data through the download system. WASTE is RSA secured, and has been hearalded as the most secure P2P connection protocol currently in development. Not so related, read about Mesh network research at…