ส่วนหนึ่งของเทศกาล Netizen Marathon 2010 — hashtag: #nm10
อาทิตย์ 28 พ.ย. 15:00 – 17:00
คุยกับสถาปนิก เรื่อง คนกับพื้นที่
เบญจมาส วินิจจะกุล และ ดวงฤทธิ์ บุนนาค
@ ร้านหนังสือและกาแฟก็องดิด ถนนตะนาว ใกล้สี่แยกคอกวัว [แผนที่] [Facebook event]
ส่วนหนึ่งของเทศกาล Netizen Marathon 2010 — hashtag: #nm10
อาทิตย์ 28 พ.ย. 15:00 – 17:00
คุยกับสถาปนิก เรื่อง คนกับพื้นที่
เบญจมาส วินิจจะกุล และ ดวงฤทธิ์ บุนนาค
@ ร้านหนังสือและกาแฟก็องดิด ถนนตะนาว ใกล้สี่แยกคอกวัว [แผนที่] [Facebook event]
TED Talk – Jaime Lerner: Sing a song of sustainable cities
ชอบไอเดียเรื่องเอาระบบขึ้นลงรถไฟฟ้า มาใช้กับรถเมล์ (ทำป้ายรถเมล์ให้คล้าย ๆ ที่รอรถไฟฟ้า ทำประตูรถเมล์ให้มีหลาย ๆ ประตูแบบรถไฟฟ้า) แล้วเชื่อมทั้งรถไฟฟ้าและรถเมล์เข้าด้วยกัน — “ระบบเดียวกัน ต่างกันแค่พาหนะ”
สุนทรียศาสตร์ของแรงโน้มถ่วง
เรียบเรียงจาก Pierre von Meiss (2000), The Aesthetic of Gravity, Architectural Research Quarterly; Volume 4 /NO.3, London: Cambridge Press
โดย post-metropolis — บล็อกนักเรียนไทย การผังเมือง คาสเซิล เยอรมนี
[ ผ่าน romance was not built in one day ]
technorati tags:
aesthetic,
gravity,
urban planning
ห้องแถว 2550 – “เครื่องมือ” สู้ทุนข้ามชาติในรูปแบบ “อาคาร”
โดย คุณยรรยง บุญ-หลง
ออกแบบมาสำหรับเมืองที่มีความหนาแน่นสูง
กระจายพื้นที่สาธารณะ-พื้นที่แลกเปลี่ยนค้าขาย โดยเพิ่มและดึงพื้นที่เหล่านั้นเข้าใกล้พื้นที่ส่วนตัว
มีเพื่อนจะไปเรียน วันนี้เพิ่งถามรายละเอียดมา
หลักสูตรที่เพื่อนจะไปเรียนคือ
สถาปัตยกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต (สถาปัตยกรรมเพื่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม)
Master of Architecture (Community and Environmental Architecture)
เห็นเล่มนี้ Alternative (Post) Modernity: An Asia Perspective แล้วก็นึกถึงเล่มนี้
Pet Architecture Guide Book ไปได้มาจากงาน Talking Cities เมื่อปีที่แล้ว
มันเป็นคนละเรื่องกันนะ แต่ที่เกี่ยวกันก็คือ มันเป็นเรื่องในเมือง และเป็นเรื่อง.. ความที่มันเป็นอย่างนั้นอยู่เอง ..จะเรียกว่าความไร้ระเบียบมันก็ อาจจะใช่ แต่เรียกว่า การปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม น่าจะเหมาะกว่า
จากรีวิวที่ I am what I am
แต่ถึงอย่างไรกลุ่มสถาปนิกและนักคิดจำนวนหนึ่ง ได้พยายามชี้ให้เห็นคุณค่าการดำรงอยู่ของความหลากหลาย ความไร้ระเบียบและความแออัด อันเป็นส่วนหนึ่งและสเน่ห์อย่างหนึ่งของภาวะความเป็นเมือง หนึ่งในกลุ่มดังกล่าว วิลเลี่ยม ลิม ดูเหมือนจะเป็นผู้หนึ่งที่มีความรู้ความเข้าใจ และเชี่ยวชาญในความเป็นเมืองของเอเชียโดยเฉพาะเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในฐานะถิ่นพำนักของเขา (สิงคโปร์) ในหนังสือ (โพสต์)โมเดิร์นทางเลือกมุมมองของเอเชีย (Alternative (Post) Modernity: An Asia Perspective) ของเขา ดู เหมือนจะเป็นการรวบรวมงานเขียนและปาฐกถาที่มุ่งให้คุณค่าในการวิเคราะห์ ความเป็นเมือง สถาปัตยกรรมเมือง และความไร้ระเบียบที่ดำรงอยู่ในเมือง ตลอดจนการกดทับของผังเมืองสมัยใหม่ต่อความไร้ระเบียบในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
“We reject every form of legislation”
“เราปฏิเสธการออกกฎหมายทุกรูปแบบ”
— Mikhail Bakunin บิดาแห่งลัทธิอนาธิปไตยสมัยใหม่
ไม่มีป้าย ไม่มีสัญญาณไฟ ไม่มีถนน ไม่มีทางเท้า และไม่มีกฎ — ผู้ใช้เส้นทางเคารพซึ่งกันและกัน
เมือง 7 เมืองในยุโรป ปลดป้ายจราจรทิ้ง
The 10th Sarasatr Symposium on SITUATIONIST SPACES
สาระศาสตร์ 10 :“สถานการณ์สานสาระ”
การประชุมทางวิชาการระดับชาติว่าด้วยการออกแบบทุกสาขา
รวมทั้งสถาปัตยกรรม และศาสตร์เกี่ยวเนื่อง
วันที่ 26 – 27 ตุลาคม 2549
ณ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย