Category: Laws & Politics

  • แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับกติกาในโลกออนไลน์

    “กฎกติกาของอินเทอร์เน็ตควรเป็นอย่างไร ?” แบบสอบถามมีทั้งหมด 6 ข้อ ใช้เวลาทำ 2-10 นาที รายงานการสำรวจที่จะเปิดเผยสู่สาธารณะ จะเป็นข้อมูลสถิติภาพรวม และจะไม่ปรากฏข้อมูลที่ระบุตัวตนของผู้ตอบแบบสอบถามได้ — สำรวจโดยโครงการพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ภาคประชาชน My Computer Law (คลิกเพื่อทำแบบสำรวจ)

  • สาวตรี สุขศรี: ว่าด้วยหลักกฎหมายอาญาและพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 2550

    อาจารย์กฎหมายธรรมศาสตร์ ตอบคำถามว่าด้วยหลักการบัญญัติกฎหมายอาญา และพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฉบับปัจจุบัน (2550) มีอะไรพิเศษไปกว่ากฎหมายอาญาทั่วไป ?

  • “ไม่มีใครสามารถทำให้เราเงียบเสียง”

    “ไม่มีใครสามารถระเบิดพวกเราให้เงียบเสียง ไม่มีใครสามารถยิงเราให้เงียบเสียง ไม่มีใครเลยที่จะสามารถทำให้พวกเรากลัวที่จะเป็นนอร์เวย์ … พวกเราจะแสดงให้โลกได้เห็นว่าประชาธิปไตยของนอร์เวย์จะยิ่งเข้มแข็งขึ้น ในยามที่มันถูกท้าทาย … เราต้องแสดงให้เห็นว่าสังคมเปิดของเราจะผ่านพ้นการทดสอบนี้ไปได้ ว่าคำตอบต่อความรุนแรงคือประชาธิปไตยที่มากยิ่งขึ้น ความเป็นมนุษย์ที่มากยิ่งขึ้น หากแต่ต้องไม่ไร้เดียงสา”

  • ผังล้มเจ้า – “โทษฐานที่รู้จักกัน”

    สวัสดี 6-ดีกรี อาชญากร 🙂 “เป็นครั้งแรกที่รัฐไทยยอมรับอย่างไม่อายว่า ประเทศนี้ถือว่า ความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น ซึ่งหลายกรณีเราเลือกไม่ได้ เช่น พ่อ-ลูก, ครู-ศิษย์, แพทย์-คนไข้, ผู้บังคับบัญชา-ผู้ใต้บังคับบัญชา, กองทัพบก-โฆษกกองทัพบก ฯลฯ อาจเป็นอาชญากรรมได้ หากคู่ความสัมพันธ์กระทำผิดกฎหมาย ฝรั่งเรียกว่า guilt by association” +– ความจงรักภักดีอย่างล้นเกิน – นิธิ เอียวศรีวงศ์. มติชน, 13 มิ.ย. 2554 ฤาคำว่า “ศีลธรรมและความดีงาม” ของประเทศนี้ไม่ได้รวมถึงการ “ห้ามกล่าวความเท็จ” +– ข้อสังเกตบางประการต่อคำสารภาพเรื่องแผงผังล้มเจ้า – สาวตรี สุขศรี. นิติราษฎร์ ฉบับที่ 23, 2 มิ.ย. 2554 +– แถลงข่าวเรื่อง จดหมายเปิดผนึกถึงเพื่อนนักเขียนทั่วประเทศ ว่าด้วย มาตรา 112 – แปดลบหนึ่งนักเขียน. 7 มิ.ย.…

  • อาญาไม่พ้นเกล้า – อาชญากรรมทางความคิด

    [David] Streckfuss says a number of possible solutions in the form of “braking mechanisms” on lèse majesté cases have been discussed by some academics. They include possibly requiring cases to be approved by the Bureau of the Royal Household before going to court, bringing the law in line with standard libel laws, as well as…

  • Z to A: The Future of the Net (and how to stop it)

    (a draft from 2008) Tony Curzon Price blogs about Jonathan Zittrain‘s LSE lecture on “The Future of the Net (and how to stop it)” From Zittrain to Aristotle in 600 words technorati tags: Internet, governance

  • นิยามปลอมของ “ข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ” ?

    นิยามปลอมของ “ข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ” ?

    จากกรณี ปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา นักกิจกรรมด้านสิทธิผู้ป่วย ถูกแจ้งข้อกล่าวหาว่า “นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ” ตามมาตรา 14 (1) ของพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ โดยข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ถูกกล่าวหาเป็นข้อมูลสถิติคนไข้ที่เสียชีวิตเและภาพความผิดพลาดในการรักษา ซึ่งใช้ในการรณรงค์ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข ผมมีข้อสังเกตเกี่ยวกับมาตราดังกล่าวดังนี้ [English Brief] May 22, 2011. Thai patient rights activist Preeyanan Lorsermvattana of Thai Medical Error Network (TMEN) was accused of “forging computer data”. The data in question is from the Network’s campaign to support Medical Malpractice Victims Protection Bill. — My take:…

  • ปฏิรูปกองทัพ ขยายงานบริการ สร้างรายได้ เพิ่มดาวน์ไลน์ คุณเองก็ทำได้

    (บันทึกจากการไปนั่ง ๆ นอน ๆ อยู่ลำปาง เมื่อหลายเดือนก่อน) ที่พักที่อยู่นี่ มีพลทหารสองนายดูแลด้วย ประมาณว่าเจ้าของเป็นทหาร (ขับรถมีสติกเกอร์ กอ.รมน.) เลยมาเรียกมา “ปฏิบัติราชการ” ช่วยนายเสียหน่อย ปัดกวาดเช็ดถู ยกเก้าอี้ และเสิร์ฟเบียร์ลูกค้า :p คนนึงบอกว่าช่วงเมษาปีที่แล้ว ถูกเรียกไปอยู่ในราบ 11 ด้วย คือถูกเรียกหมด ไม่รู้ว่าจากไหนจากไหนมั่ง ไม่รู้จักเลย แล้วก็เฮลิคอปเตอร์ รถถัง ฯลฯ เพียบ แต่ปกติเขาอยู่ภาคใต้ กำลังคิดว่า ไอ้ที่กองทัพบอกว่าลดกำลังพลไม่ได้นู่นนี่นั่น เวลามีคนไปกระทุ้งว่าต้องปฏิรูปกองทัพ ลดกำลังพล (และลดตำแหน่งนายพลกินเงินตำแหน่ง) ชะรอยจะเป็นเพราะว่าเดี๋ยวจะขาดแคลน “แรงงานนอกระบบ” เหล่านี้ — เจ๋งกว่าแรงงานพม่าอีกอ่ะ ค่าจ้างก็ถูกกว่า (i.e. ประชาชนจ่ายให้) ไม่บ่นไม่งอน (อย่าหือกะผู้บังคับบัญชานะฮะ ) ไม่ต้องปวดหัวเรื่องใบอนุญาต แถมเป็นบุญเป็นคุณกันอีกอ่ะ อุตส่าห์ดึงตัวมานะเนี่ย จะได้ไม่ต้องไปทำงานหนักฝึกหนักในกองทัพ มาอยู่สบาย ๆ กะนาย :p นึกถึงธุรกิจห้องจัดเลี้ยงของกองทัพนะ…

  • “เจ็บไหมลูก” (พ.ค. 2553)

    “สถิติตำแหน่งบาดแผลของผู้เสียชีวิต จากเหตุการณ์สลายการชุมนุม” “เส้นทางความรุนแรงขอคืนพื้นที่ความจริง” จาก เอกสารข้อเท็จจริงเบื้องต้นเกี่ยวกับเหตุการณ์ความรุนแรงทางการเมือง ระหว่างวันที่ 13-20 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 จัดทำโดย บัณฑิต จันทร์โรจนกิจ และกลุ่มนักศึกษา ‘มรสุมชายขอบ’ [ดาวน์โหลด PDF] (590 หน้า)

  • เมื่อโลกใหม่ดิ้นรนจะบังเกิด และโลกเก่ากำลังตาย ?

    Anthropology News Volume 51, Issue 4, April 2010 ปีที่แล้วนี่เอง เป็นฉบับว่าด้วย “มานุษยวิทยาและวารสารศาสตร์” วันจันทร์ที่ผ่านมา [16 พ.ค.] ไปงาน Public forum: Reflection for the Thai Media in the post-2010 political violence เป็นเวทีสาธารณะจัดโดย สมาพันธ์สื่อมวลชนแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (SEAPA) ร่วมกับสมาคมนักข่าวฯ และสถาบันข่าวอิศรา มีหลายคนพูดถึงจริยธรรมสื่อ ถึงเรื่อง objectivity ที่ “เป็นมาตรฐาน” ของสื่อมวลชน บางคนก็ว่าจริยธรรมมันต้องมีจริยธรรมเดียว จะสื่อเก่าสื่อใหม่ก็ตาม ไม่งั้นก็ไม่ใช่สื่อมวลชน เป็นสื่อเฉพาะกลุ่ม เป็น “สื่อเทียม” บางคน (รวมถึงผมเอง) ก็ว่า อย่าเอาคุณค่าที่สื่อเก่าเห็นว่าดีว่าชอบ มาครอบงำกดทับสื่อใหม่ สมชัย สุวรรณบรรณ กรรมการนโยบาย ThaiPBS ที่เพิ่งเขียนบทความเรื่อง “สื่อชนเผ่า”…

Exit mobile version