-
For Israel: “There is no partner for peace, there’s no one to talk to.” สันติภาพไม่ใช่สิ่งจำเป็นสำหรับอิสราเอล
Shir Hever นักวิจัยเศรษฐศาสตร์ที่ Alternative Information Center ให้ความเห็นว่า อิสราเอลมีความต้องการที่จะคงความขัดแย้งในภูมิภาคเอาไว้ และใช้โอกาสดังกล่าวแสดงศักยภาพทางเทคโนโลยีการทหาร โดยระบุว่าเทคโนโลยีดังกล่าวเป็นหนึ่งในสินค้าส่งออกที่สำคัญที่สุดของอิสราเอล และบริษัทผลิตอาวุธเหล่านี้ก็มีบทบาทมากขึ้นเรื่อยๆ ในการเมืองและการตัดสินใจในนโยบายระหว่างประเทศของอิสราเอล
-
การออกแบบระบบสารสนเทศและการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตรวจสอบหาความจริงกรณีละเมิดสิทธิมนุษยชนขนาดใหญ่
หนังสือเล่มนี้มีเนื้อหาครอบคลุมประเด็น การเก็บหลักฐาน การทำมาตรฐานข้อมูลและรายการคำศัพท์เพื่อการจัดหมวดหมู่ การออกแบบหน้าจอเพื่อป้อนข้อมูล การออกแบบโครงสร้างข้อมูลและภาพแทนข้อมูลในฐานข้อมูล การประมวลผลข้อมูล การสร้างรายงานเชิงวิเคราะห์ การวิเคราะห์กลุ่มตัวอย่าง การนำเสนอข้อมูลด้วยตารางและผังภาพเพื่อให้เห็นความเชื่อมโยงของข้อมูล การพัฒนาอรรถาภิธานศัพท์เพื่อลดรูปข้อมูลเชิงบรรยายไปเป็นรหัส
-
ดูพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฟิลิปปินส์ แล้วคิดถึงพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ไทย — ประเด็น “ข้อมูลคอมพิวเตอร์”
12 ก.ย. 2555 ฟิลิปปินส์ออกกฎหมายป้องปรามอาชญากรรมไซเบอร์ ความผิดที่กำหนดตามกฎหมายนี้ แบ่งเป็น 3 หมวด ที่ผมสนใจคือหมวด (b) กับ (c) นี้ ถ้าเทียบกับพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ของไทย มันจะไปรวมอยู่ในมาตรา 14 (ไม่เป๊ะซะทีเดียว บางเรื่องของเราไม่มี บางเรื่องเขาไม่มี) คือของฟิลิปปินส์นี่จะดีจะแย่ก็แล้วแต่มุมมองนะครับ แต่อย่างน้อยเราบอกได้ว่า เขาเขียนได้ละเอียดและแบ่งได้ชัดเจนว่า อันไหนเกี่ยวกะเนื้อหา อันไหนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ จะบอกว่าของเขาออกทีหลัง เลยรัดกุม/ละเอียดกว่าก็ได้ คือได้ตัวอย่างจากประเทศอื่นๆ — แต่เรื่องการละเมิดสิทธินี่ ยังเป็นปัญหาเหมือนกันนะครับ
-
การแฮ็กคือการเรียนรู้แห่งอนาคต Raspberry Pi: Hacking is a 21st century literacy
Raspberry Pi เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก กว้างxยาวประมาณเครดิตการ์ด หน้าตามันเหมือนแผงวงจรลุ่นๆ มากกว่าจะเป็นคอมพิวเตอร์สำเร็จ และห่างไกลจากความสวยเนี๊ยบอย่างไอแพด แต่ผู้สร้างก็ตั้งใจจะให้มันเป็นแบบนี้ มันคือจิตวิญญาณแห่งความอยากรู้อยากเห็นจากทศวรรษ 1980 ที่ถูกผลักไปข้างหน้าเพื่อศตวรรษที่ 21 ไม่เพียงแต่ซอฟต์แวร์ที่บรรดาเด็กๆ นักเรียนจะแฮ็กได้ง่ายๆ แต่รวมไปถึงฮาร์ดแวร์ด้วย “hacking” คือ literacy ของโลกอนาคต เพราะ hacking หมายถึงการที่เราสามารถควบคุมเทคโนโลยีได้ด้วยมือเราเอง ไม่ต้องงอนง้อรอเป็นปีๆ ขอจากผู้ผลิตให้เมตตาเพิ่มฟีเจอร์นั่นนี่ให้เรา
-
“Unfortunately, some people died.” — Abhisit Vejjajiva
Why very far-fetched? You were the person in power use of force in tearing down the protest camp.
-
#IGF12 Floor Plan: A Good #Fail Of Top-Down Planning for Public Space
As much we need more people who actually walk at the street level to take part in the urban planning process, we need more civil society, businesses, academics, and most important of all, the people in the network, in the policy making process for Internet.
-
[6-9 พ.ย.] ถ่ายทอดสด+เสวนา เวทีอินเทอร์เน็ตภิบาลโลก #IGF12 @ ดิจิทัลเกตเวย์
ถ่ายทอดสด+เสวนา เวทีอินเทอร์เน็ตภิบาลโลก #IGF12 @ ทรูดิจิทัลพาร์ค ชั้น 4 ดิจิทัลเกตเวย์ สยามสแควร์ 6 พ.ย. 17:30-20:00 — การศึกษาและการพัฒนา 7 พ.ย. 17:30-20:00 — สิทธิมนุษยชนออนไลน์ 8 พ.ย. 12:00-15:30 — เสรีภาพและความเกลียดชัง 9 พ.ย. 12:00-15:00 — ทบทวนทิศทางการกำกับดูแลเน็ต
-
[31 ก.ค.] การประชุมว่าด้วยเทคโนโลยีและสิทธิพลเมือง ประจำปี 2555 @ ไทยพีบีเอส
การประชุมว่าด้วยเทคโนโลยีและสิทธิพลเมืองครั้งที่ 1: “อินเทอร์เน็ตกับการจัดทำนโยบายสาธารณะ” อังคาร 31 ก.ค. 2555 9:00-17:00 ณ หอประชุม องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย เลขที่ 145 ถนนวิภาวดี-รังสิต ดำเนินเป็นภาษาไทย และมีหูฟังแปลภาษาอังกฤษตลอดการประชุม ไม่มีค่าใช้จ่าย
-
อย่าโทษคนนำสาร Don’t shoot the messenger
คดีของจีรนุชชี้ให้เห็นถึงข้อบกพร่องของ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ พ.ศ. 2550 มาตรา 15 ในหลายประเด็นสำคัญ 1. ภาระของ “ท่อ” 2. ตัวกลางกลายเป็น “แพะ”
-
Shakespeare Must Die!!
“อ่านการดีเฟนท์จากผู้สร้างเชคสเปียร์ต้องตายแล้วก็ยืนยันว่ายังไงเราก็ต้องดีเฟนท์ให้หนังมันได้ฉาย …. เพื่อที่เราจะได้เลือกด่ามันด้วยสมองของตัวเอง” — Aof Dent