-
disposable e-mail address
เอาไว้ใช้สมัครบริการต่าง ๆ ได้ ถ้าไม่อยากใช้อีเมลที่ปกติใช้อยู่ (กลัวสแปม, ระวังความเป็นส่วนตัว, ไม่อยากเปิดเผยตัว, ไม่แน่ใจความปลอดภัยของเว็บ ฯลฯ) ที่อยู่อีเมลใช้แล้วทิ้ง (Disposable e-mail addressing) หรือ DEA หมายถึงบริการทางเลือกสำหรับแบ่งปันและจัดการที่อยู่อีเมล. DEA มีจุดประสงค์เพื่อสร้างที่อยู่ติดต่อใหม่ที่ไม่ซ้ำกับใคร เพื่อใช้ในการสื่อสารระหว่างผู้ส่งและผู้รับ. โดยที่หากในเวลาต่อมา ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งนำที่อยู่อีเมลนี้ไปใช้ในทางอันตรายหรือก่อกวน, เจ้าของที่อยู่ดังกล่าว ก็สามารถยกเลิก (“ทิ้ง”) ที่อยูนั้นได้อย่างง่ายดาย โดยไม่กระทับกับที่อยู่ติดต่ออื่น ๆ ตัวอย่างของที่อยู่ใช้แล้วทิ้ง เช่น ContactName@YourName.Provider.com ประโยชน์ของที่อยู่อีเมลใช้แล้วทิ้ง เช่น สำหรับใช้กันสแปม รายชื่อผู้ให้บริการที่อยู่อีเมลใช้แล้วทิ้ง (dmoz) Handbook for Bloggers and Cyber-dissidents (ฉบับภาษาไทย) วิธีเขียนบล็อกแบบไม่เปิดเผยตัวตน (นิรนาม) วิธีทางเทคนิคในการหลบเลี่ยงการเซ็นเซอร์ [ผ่าน anon.hui] technorati tags: Disposable e-mail address
-
Bloggers Handbook in Thai
คู่มือสำหรับบล็อกเกอร์ และนักเคลื่อนไหวไซเบอร์ แปลจาก Handbook for Bloggers and Cyber-dissidents ของ องค์กรนักข่าวไร้พรมแดน (Reporters without Borders หรือ RSF) แนะนำวิธีการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการเคลื่อนไหวทางสังคม ตั้งแต่วิธีการเลือกเครื่องมือ แนวปฏิบัติ และเทคนิคในการเขียนบล็อกแบบไม่เปิดเผยตัวตน ฉบับภาษาไทย แปลเสร็จแล้วสองบท (จาก 13 บท) วิธีเขียนบล็อกแบบไม่เปิดเผยตัวตน (นิรนาม) วิธีทางเทคนิคในการหลบเลี่ยงการเซ็นเซอร์ ขอขอบคุณ คุณคนชายขอบ ที่ได้กรุณาแปลสองบทแรกให้อย่างรวดเร็ว รวมถึงผู้ร่วมตรวจทานทุกท่านไว้ ณ ที่นี้ด้วย หากท่านใดได้แปลเพิ่มเติม สามารถส่งมาได้ที่ facthai AT gmail.com — ขอบพระคุณเป็นอย่างสูง [ลิงก์ คู่มือสำหรับบล็อกเกอร์ และนักเคลื่อนไหวไซเบอร์ @ เว็บล็อก กลุ่มเสรีภาพต่อต้านการเซ็นเซอร์แห่งประเทศไทย (FACT)] technorati tags: FACT, Internet censorship, privacy
-
Tor + FoxyProxy
One of the fundamental contrasts between free democratic societies and totalitarian systems is that the totalitarian government [or other totalitarian organization] relies on secrecy for the regime but high surveillance and disclosure for all other groups, whereas in the civic culture of liberal democracy, the position is approximately the reverse. — Geoffrey de Q Walker…
-
Wiretapping = Unconstitutional
ศาลกลางสหรัฐอเมริกา (federal court) ตัดสินว่า การดักฟังโดยไม่ต้องมีหมาย (warrantless wiretapping program) ของสภาความมั่งคงแห่งชาติสหรัฐ (National Security Agency) นั้นขัดกับรัฐธรรมนูญสหรัฐ (unconstitutional) และมีคำสั่งให้หยุดโปรแกรมนี้ทันที via slashdot via CNN tags: wiretapping, warrantless, NSA, National Security Agency, USA
-
Surveillance 2.0
Why Web 2.0 will end your privacy (comments on Slashdot) Enjoy Surveillance! tags: privacy socialnetwork surveillance
-
U of Toronto Citizen Lab
3 Toronto geeks develop anti-censorship software Citizen Lab The Citizen Lab is an interdisciplinary laboratory based at the Munk Centre for International Studies at the University of Toronto, Canada focusing on advanced research and development at the intersection of digital media and world civic politics. via Slashdot – Tearing Down China’s Great Firewall tags: censorship…
-
Handbook for bloggers and cyber-dissidents
Handbook for bloggers and cyber-dissidents by Reporters Without Borders What is a blog ? How to build and write one ? Blog ethics. How to write anonymously, and Technical ways to get around censorship. update 2007.05.26: Thai version available
-
TorPark : A quick Firefox jumps over a lazy watch dog
Browse anonymously with TorPark. Tor (anonymous Internet connection) + Portable Firefox (Firefox on USB drive) = TorPark .. “Turn any internet terminal into a secure connection.” TorPark เป็นโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ขนาดเล็ก (6 MB) สำหรับ Windows ที่ใช้ได้จากยูเอสบีไดร์ฟทันที จุดเด่นของโปรแกรม นอกจากจะไม่ต้องติดตั้ง (ทำให้ไม่ทิ้งร่องรอยการใช้งานไว้บนเครื่อง) แล้ว ยังทำการเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตผ่านโปรแกรม Tor ซึ่งทำให้การติดตามร่องรอยการใช้อินเทอร์เน็ตทำได้ยาก เราสามารถพก TorPark ใส่ยูเอสบีไดร์ฟไปใช้งานที่อื่นได้ เช่น ร้านอินเทอร์เน็ตคาเฟ่ (ยกเว้นร้านพี่หน่อย ที่ใช้ลีนุกซ์ทั้งร้าน :P) หรือคอมพิวเตอร์สาธารณะตามโรงเรียนและห้องสมุด ขอขอบคุณคุณ (นิรนาม..ละกัน) ที่แนะนำเข้ามาทางอีเมล p.s. It seems…
-
How to keeps your blog under the radar
CNN — Guide aims to help bloggers beat censors PARIS, France (AP) — A Paris-based media watchdog has released an ABC guide of tips for bloggers and dissidents to sneak past Internet censors in countries from China to Iran. เขียนบล็อกยังไงไม่ให้โดนเซ็นเซอร์ และไม่มีใครรู้ว่าเราเขียน update 2007.05.26: Thai version available – มีฉบับภาษาไทยแล้ว
-
แรงดึงดูด
วิธีนึงที่จะรักษาความสัมพันธ์ที่ดี กับผู้คนที่เราพึงใจ และอยากคบหากันไปนานๆ ก็คือ การรักษาระยะห่าง ทำตัวสนิทกันมากๆ บางทีมันก็สนุก ดูจริงใจ แต่บางทีเยอะๆ มันก็อึดอัด ทุกคนต้องการความเป็นส่วนตัว และมีโลกอีกหลายใบที่เค้าต้องไปอยู่ ทั้งโลกส่วนตัวของเค้าเอง โลกของที่บ้าน โลกของเพื่อนที่โรงเรียน โลกของเพื่อนที่ทำงาน เราตามเค้าไปทุกโลกไม่ได้ ไม่ต้องทำ และไม่มีใครต้องการ แต่ละโลกมีแรงดึงดูดไม่เท่ากัน ระยะห่างที่พอดีระหว่างวัตถุก็ไม่เท่าตาม แต่ละโลกประกอบด้วยธาตุไม่เหมือนกัน คุณสมบัติของวัตถุก็แตกต่าง การคบเพื่อนในที่ทำงาน ระยะห่างจึงไม่เหมือนกับคบเพื่อนที่ไล่เตะกันมาแต่เด็ก รวมทั้งเรื่องที่จะคุยแล้วจะเกิดปฏิกริยากันได้ ก็เป็นหัวข้อที่ไม่เหมือนกัน เรื่องบางอย่างพูดได้กับคนไม่กี่คน และไม่ใช่ทุกเรื่องที่เพื่อนเล่าให้เราฟัง ต้องการคำตอบ .. เค้าแค่ต้องการปลดปล่อยพลังงานออกจากระบบ ไม่ให้ภายในตัวเค้าต้องวุ่นวายมากเท่านั้น — เราไม่ต้องป้อนพลังงานกลับ อยู่ในจักรวาลออนไลน์ ใหญ่เหลือเกิน รวมโลกของใครต่อใครเอาไว้เต็มไปหมด แถมกองทัพอุกกาบาตที่ผ่านมาเป็นพักๆ อีก (มาจากไหนไม่รู้ แต่เวลาเถียงกันยาวๆ อย่างใน pantip.com นี่ชอบเห็นมีชื่อแปลกๆ โผล่มาแจมเรื่อย) ถ้าไม่รักษาระยะห่างเอาไว้หน่อย ก็ตูมกันได้ง่ายๆ เรื่องเทคนิค และเรื่องที่คนอื่นอ่านไม่รู้เรื่อง ไกลตัว ดูเหมือนจะเป็นเรื่องที่ผมบล็อกเยอะสุด 😛 โอ้ น้ำ…