เชิญร่วมตอบแบบสอบถาม เรื่อง
“สิทธิเสรีภาพในการใช้งานอินเทอร์เน็ต”
เพื่อสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพในการใช้งานอินเทอร์เน็ต ความคิดเห็นต่อการดูแลอินเทอร์เน็ต และอิทธิพลของอินเทอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน — แบบสอบถามใช้เวลาทำประมาณ 7 นาที
เชิญร่วมตอบแบบสอบถาม เรื่อง
“สิทธิเสรีภาพในการใช้งานอินเทอร์เน็ต”
เพื่อสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพในการใช้งานอินเทอร์เน็ต ความคิดเห็นต่อการดูแลอินเทอร์เน็ต และอิทธิพลของอินเทอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน — แบบสอบถามใช้เวลาทำประมาณ 7 นาที
followed up the previous post (get the media kit there).
ผู้ใช้ Facebook
เข้าร่วมกลุ่ม Protect Our Internet group
หรือเพิ่มแอพพลิเคชั่น Protect Our Internet application ได้ตามสะดวกครับ
[ ผ่าน pittaya ]
Subject: A call for accountability from Thepthai Senpong and Thailand’s Democrat Party, and a call for all netizens to safeguard our rights and freedom of expression on the Internet
จาก http://gopetition.com/online/19589
(ดูต้นฉบับ และร่วมลงชื่อได้ที่ลิงก์ดังกล่าว)
แถลงการณ์จาก
ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตและสื่อพลเมือง
ผู้สนับสนุนสิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น
29 พฤษภาคม 2551
เรื่อง ขอเรียกร้องความรับผิดชอบจากนายเทพไท เสนพงศ์ และ พรรคประชาธิปัตย์ และขอเชิญชวนพลเมืองทุกคนร่วมกันปกป้องสิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น
ศิริพร สุวรรณพิทักษ์ (ปุ๊ก) เว็บมาสเตอร์ 212cafe.com ได้ประกันตัวแล้ว — หลังนอนในห้องขังหนึ่งคืน
อ่านบล็อกของปุ๊ก: 212cafe.com เป็นข่าว!
เกี่ยวข้องกับเรื่องนี้ หนังสือพิมพ์ มติชน ออนไลน์ และ ผู้จัดการ ออนไลน์ ลงข่าวชวนเข้าใจผิด และตัดสินปุ๊กไปแล้วในข่าว-โดยไม่ได้ตั้งอยู่บนหลักฐานที่ปรากฎ
อนาคตของอินเทอร์เน็ต และจะหยุดมันอย่างไร
เจอหนังสือเล่มนี้จากเว็บ EFF (มูลนิธิ Electronic Frontier Foundation — องค์กรต่างชาติ!)
The Future of the Internet—and How to Stop It
โดย Jonathan Zittrain
ศาสตราจารย์ด้านการปกครองและการวางระเบียบอินเทอร์เน็ต ที่ Oxford Internet Institute
เราสามารถนำคำอธิบายความขัดแย้ง ระหว่าง รัฐ (state) กับ ชาติ (nation, กลุ่มคน) มาใช้อธิบายความขัดแย้งระหว่าง รัฐ กับ ชาว(เผ่า)อินเทอร์เน็ต ได้ไหม ?
ชาวอินเทอร์เน็ตบางส่วน มีคุณค่าพื้นฐานที่ยึดถือร่วมกันอยู่ เช่น netiquette, open-source culture, hacker ethic
และเป็นลักษณะที่ข้ามเขตพรมแดน เลยขอบเขตของรัฐออกไป (แฮกเกอร์เวียดนามก็ยึดถือคุณค่าเดียวกับแฮกเกอร์ญี่ปุ่น เป็นต้น) อย่างนี้แล้ว แม้ชาวอินเทอร์เน็ตกลุ่มนั้นจะไม่ถึงขนาดนับเป็น กลุ่มชาติพันธุ์ (ethnic group) ได้ แต่เราจะเรียกว่า เผ่า (tribe) จะพอไหวไหม ? Netizen ?