-
Writerly Web: Writing as an Open Web Interface #drumbeat #openweb
เมื่อสองอาทิตย์ที่แล้ว เป็นทีม Opendream ไปเสนอไอเดียสั้น ๆ 5 นาที (ซึ่งทำได้ไม่ทันเวลา) ที่งาน Mozilla Drumbeat @ Neoteny Camp Writerly Web: Writing as an Open Web Interface View more documents from Arthit Suriyawongkul. (โพสต์ครั้งแรกที่ Opendream blog / twitter list @opendream/ers เปิดแล้ว) technorati tags: generative web, open web, nsc1, mozilla drumbeat, ui
-
Firefox 3.0pre Thai
Following its cousin Thai langpack, Firefox 3.0pre localized build for Thai is out now! Thanks all House 2.0 and Thai L10n people [vdo clip @ duocore.tv]. ผลลัพธ์จากงานเย็นทั่วหล้ามหาสงกรานต์ Firefox Thai L10n sprint @ House 2.0 [ดูคลิป ที่ duocore.tv] มาแล้ว ไฟร์ฟ็อกซ์ 3.0pre ภาษาไทย (รุ่นทดสอบ) ลองวันนี้ ทั้งบน GNU/Linux, Mac OS X และ Windows XP ดิจิทัลดาวน์โหลด (ทุกค่าย) งานนี้ pittaya…
-
talking BugAThon Thailand, seeing Firefox Thai Official Localization plan
[Mozilla BugAThon Thailand report in English] molecularck รายงานสรุป BugAThon Thailand (ไม่ใช่ Bangkok เพราะจับได้ว่าพี่เทพก็ออนไลน์ดูอยู่ด้วย จากคอมเมนท์ในบั๊กเรื่องฟอนต์) เมื่อวันเสาร์ที่ผ่านมาเอาไว้อย่างละเอียด พร้อมรูปถ่ายบรรยากาศ (ลงใน Blognone ด้วย) เรื่องบั๊กต่าง ๆ ที่ปิดไปแล้วบ้าง หรือได้ข้อสรุปแล้วบ้าง หรือที่เปิดใหม่นิดหน่อย อ่านได้จากในรายงานเลยครับ คุณ molecularck เก็บไว้หมดแล้ว ผมขอเล่าบรรยากาศทั่ว ๆ ไปละกัน งานนี้มี นิตยสาร OpenSource2day และรายการ แบไต๋ไฮเทค มาร่วมด้วย (เสียดายที่พวกเราไม่ได้คุยกันซักเท่าไหร่ เพราะทุกคนก้มหน้าก้มตาทดสอบและคุยเรื่องบั๊กกันอยู่) ยังไงก็ขอขอบคุณมาก ๆ ที่ให้ความสนใจการรวมตัวของชุมชนผู้ใช้เล็ก ๆ อย่างนี้ครับ พวกเราวันนั้นรวม ๆ กันแล้ว ประมาณ 12-13 คน (มีใครบ้าง ไปดูในรายงานของ molecularck เองนะ) บรรยากาศก็เรื่อย…
-
JavaScript in Java 6
อย่างที่พอจะรู้กันบ้างแล้ว ว่า Java 6 จะใช้รองรับภาษาสคริปต์อย่างเป็นทางการ (ในตัว API เลย โดยจะอยู่ในแพคเกจ javax.script แล้วก็มีเครื่องมือสนับสนุนอื่น ๆ อีก) วันนี้เผอิญไปเห็นสไลด์เกี่ยวกะเรื่องนี้ เลยเอามาฝาก: Scripting for Java Platform (JavaOne 2005) นอกจากการเรียกใช้ภาษาสคริปต์ภาษา API ได้แล้ว ในส่วนของเครื่องมือ (ซึ่งจะมาพร้อมกับ Java 6 SDK แต่ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของสเป็ค Java 6 SE) จะมีโปรแกรมเพิ่มขึ้นมาตัวนึงสำหรับเรื่องนี้โดยเฉพาะ คือ jrunscript (กดเพื่อดูวิธีใช้) เอาไว้รันสคริปต์จากคอมมานด์ไลน์ (ค่าปริยายเป็น JavaScript แต่จะระบุภาษาอื่นก็ได้) ตัวอย่าง: ผ่านคำสั่งเป็นพารามิเตอร์ (เหมือนพวก Perl) jrunscript -e “print(‘hello world’)” ระบุภาษาด้วยออปชั่น -l / เรียกชุดคำสั่งจากไฟล์ jrunscript -l…
-
Character set detection in Java
jchardet — a Java port of Mozilla’s automatic charset detection algorithm.
-
Charset Detectors
นาน ๆ จะโพสต์อะไรที่มีสาระที ต้องเก็บไว้หน่อย 😛 Mozilla Charset Detectors code: Mozilla, Java document: A composite approach to language/encoding detection Characters and encodings เบื่อเป็นหวัด
-
MOOX – Optimized Mozilla
MOOX, for an even faster Internet experience. Use Firefox and Thunderbird in their maximum possible performance. Recommended by iChris, the all-round technology master 😉
-
Mozilla Inline Spellchecking
ตอนนี้ Mozilla 1.8 มีตัวตรวจตัวสะกดอัตโนมัติแล้วนะครับ — ส่วน Firefox 1.0 จะยังไม่มีแน่นอน (เนื่องจากปิดรับฟีเจอร์ใหม่ไปนานแล้ว รอแก้บั๊กอย่างเดียว) กดไปดูตามลิงก์ได้เลย คำไหนผิดก็จะมีเส้นใต้สีแดงขีดไว้ให้ งานนี้ต้องขอบคุณ Linspire ผู้สร้างครับ (อยู่ใน Linspire Internet Suite) + Neil Deakin และชาวคณะ (หยั่งกะตลก) ที่พอร์ตกลับมายัง Mozilla 1.8 — (รวมถึงผู้ที่ทำให้เกิด license แบบ MPL ด้วย ไม่งั้นคงเอากลับมาไม่ได้ :P) ถ้าทีมทะเลสนใจจะเอามาใส่ Linux TLE ก็ลองดูนะครับ 🙂 ป.ล. ถ้าพวก พจนานุกรมตัวสะกด มันแชร์กันได้ระหว่าง app ก็ดีสิ แบบ GTK+ apps, Qt apps, OO.o, Mozilla ฯลฯ…
-
m17n-enabled Mozilla
มีใครดูตัวนี้อยู่บ้างครับ? ผมยังไม่ได้ดูละเอียดๆ แต่เหมือนจะเน้นเรื่อง input และ output เป็นหลัก? (i.e. ไม่มีเรื่องตัดคำ) เพิ่งรู้ว่าเค้าเอามาใส่ใน Mozilla แล้ว (มี patch สำหรับ Firefox 1.0PR แล้วด้วย)
-
Internet Explorer ‘ทน’ กว่า Mozilla และ Opera
จาก BugTraq (จาก Slashdot อีกที) นาย Michal Zalewski ได้เขียนโค้ด HTML ขึ้นมาชุดนึง ซึ่งเป็นโค้ดที่ ‘malformed’ หรือว่าเขียนขึ้นมาอย่างผิดๆ ไม่สมบูรณ์ แล้วก็นำโค้ดชุดนี้ ไปทดสอบบนเบราเซอร์ยอดนิยมห้าตัว ได้แก่ Internet Explorer, Mozilla (รวมทั้ง Netscape และ Firefox), Opera, Lynx และ Links. เพื่อจะดูว่า เบราเซอร์เหล่านี้ จะรับมือกับ HTML เหล่านี้ได้ยังไง (เรียกได้ว่า เป็นการจำลองสถานการณ์ปกติ เพราะใน www ทุกวันนี้ เราก็จะพบเอกสาร HTML ที่เขียนขึ้นมาอย่างผิดๆ โดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์เป็นจำนวนมากอยู่แล้ว) ผลปรากฏว่า เบราเซอร์สี่ตัวหลัง (ทั้งหมดที่ไม่ใช่ IE) นั้น เดี้ยง ไม่สามารถแสดงผล HTML เหล่านั้นได้ หรือบางทีก็ค้างไปเลย รายละเอียดของการทดสอบ และโค้ด…