The Global Civil Society Yearbook is an annual publication produced by the Global Civil Society Programme at the Centre for the Study of Global Governance at the London School of Economics (LSE). The 387-page volume for 2007-2008 explores advances in technology, stating that they have enhanced global mass media and permitted private worldwide communication while also facilitating civil society’s own global presence. At the same time, the democratic nature of global communication appears very open to question.
Tag: civil society
Me on #ICT2020 plan
วันนี้ไปงานระดมความเห็นเรื่องแผนไอซีทีในระยะ 10 ปีข้างหน้า (ICT2020) กลุ่ม civic empowerment
(คืออะไรก็ไม่ค่อยแน่ใจ ผมก็มั่วไป) ที่เนคเทคเป็นเจ้าภาพ (ผมไป แทน
หลายคนมาก ๆ ประมาณว่าแปะมือกัน)
ผมได้เสนอในวงและยังยืนยันว่า ในการทำนโยบายทางสังคมใด ๆ จำเป็นต้องคิดถึงกลุ่มชายขอบทางการเมืองด้วย ไม่ใช่เพียงกลุ่มชายขอบทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ฯลฯ
New Blood, New Media in the New City
ไปเชียงใหม่มาเมื่อสองสัปดาห์ก่อน มีงานสัมมนาเกี่ยวกับสื่อใหม่/สื่อนฤมิต* จัดโดยคณะการสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เจอคนเยอะแยะ เดินทางสู่ผู้คน
เลยงอกออกมาเป็นดูโอคอร์ตอนพิเศษ อย่างน่าดีใจ
Designing for Civil Society
อีกเว็บบล็อกที่น่าสนใจ
Designing for Civil Society “ออกแบบเพื่อสังคมพลเมือง”
— David Wilcox on social media, engagement, collaboration
e-Democracy, social network, social media, collaboration, knowledge management, …
แต่ มันยาวจัง – -“
HCI2003 Feature: How Design creates Society
tags:
civil society |
social network |
e-democracy |
The People’s Agenda
สรุปบางส่วนจาก
คำประกาศสมัชชาสังคมไทย
“โลกที่เท่าเทียม ประชาชนสร้างได้”
23 ตุลาคม 2549 ณ อนุสรณ์สถาน 14 ตุลา
เพื่อบรรลุเจตนารมณ์ เราจะ
- อยู่บนพื้นฐานความเป็นธรรม ความเท่าเทียม สิทธิเสมอภาค สันติภาพ
- ไม่รอคอย/หวังพึ่งใคร แต่จะเข้าไปมีส่วนร่วมทุกรูปแบบด้วยตัวเอง
- ยึดหลักการอำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชน ลดอำนาจรัฐ เพิ่มอำนาจประชาชน
การปฏิรูปการเมืองในครั้งนี้ จะต้อง
- ปฏิรูปการใช้อำนาจรัฐ เคารพ สิทธิ เสรีภาพ ศักดิ์ศรีมนุษย์ ไม่แยก เพศ พิการ ชาติพันธุ์
- ให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั่วถึง เท่าเทียม
- ให้ประชาชนสามารถกำหนดวิถีชีวิตของตนเอง ในทุกด้าน
- ให้ภาคประชาชนตรวจสอบถ่วงดุลการใช้อำนาจรัฐได้อย่างเข้มแข็ง
- สร้างความเท่าเทียมและเป็นธรรมทางเศรษฐกิจ กระจายโอกาสการเข้าถึงทรัพยากร
การปฏิรูปมีสาระสำคัญดังนี้ (วาระประชาชน)