-
How to get around censorship (a must of for Internet in Thailand)
อินเทอร์เน็ตเมืองไทยมีบั๊ก แจ้งบั๊กไปแล้ว คนมีอำนาจดูแลก็ไม่สนใจ ก็ต้องหา work around ไปพลาง ๆ ก่อน จะได้พอใช้เน็ตได้ตามสภาพ วิธีหลบเซ็นเซอร์ การใช้อินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัย และการรักษาข้อมูลส่วนบุคคล http://thainetizen.org/unblock แปลจาก Technical ways to get around censorship โดย ผู้สื่อข่าวไร้พรมแดน (RSF) technorati tags: Internet censorship, circumvention
-
Beat the Censor CD – torrent
circumvention softwares รวมโปรแกรมมุด พร้อมคู่มือติดตั้ง-ใช้งาน ในซีดีหนึ่งแผ่น: torrent: http://www.mininova.org/tor/—– ปิดลิงก์นี้ครับ เนื่องจากไม่สมบูรณ์ torrent: http://www.mininova.org/tor/752343 ใช้อันนี้ครับ (don’t forget to seed it back! 😉 ) technorati tags: torrent, Internet censorship
-
Private surfing in Ubuntu – using Tor+Privoxy
ท่องเว็บเงียบ ๆ ในอูบุนตูลีนุกซ์ (สำหรับวินโดวส์ ดูที่ http://wonam.exteen.com/20060923/tor ) Tor (ตอร์) เป็นเครือข่ายและโปรแกรมช่วยเพิ่มความเป็นส่วนตัวในการท่องเว็บ นอกจากนี้ยังอาจช่วยให้เราสามารถเข้าเว็บที่ถูกบล็อกได้อีกด้วย Privoxy (ไพรว็อกซี่) เป็นโปรแกรมพร็อกซี่ที่ช่วยเพิ่มความเป็นส่วนตัวในการท่องเว็บเช่นกัน โดยสามารถดักจับ ‘คุกกี้’ และกรองเนื้อหาบางอย่าง เช่น โฆษณา ออกไปได้ ติดตั้ง Tor และ Privoxy ใน Ubuntu 1 – ติดตั้งแพคเกจ “tor” และ “privoxy” จะใช้เมนู System -> Administration -> Synaptic Package Manager หรือจะใช้คำสั่งที่คอมมานด์ไลน์ก็ได้ คือ: sudo apt-get install tor privoxy 2 – ปรับตั้งค่าของ Privoxy โดยแก้ไฟล์ /etc/privoxy/config: sudo gedit…
-
Smooth OperaTor
เว็บเบราว์เซอร์ ระบบนิรนาม พร็อกซี่ รวมกัน Opera + Tor + Privoxy = OperaTor ใส่ในไดรฟ์ยูเอสบีได้ สบาย ๆ ใช้ง่าย ไม่ต้องติดตั้งอะไรเลย (รันได้โดยตรงจากยูเอสบี – เป็น portable apps) เหมาะมาก ลองแล้วชอบครับ คำเตือน (สำคัญ) การใช้งาน Java, BitTorrent ในตัว Opera, และโปรแกรมอีเมลและแชท IRC ในตัว Opera นั้น จะไม่ถูกทำให้เป็นนิรนาม เนื่องจากโปรแกรมเหล่านั้นไม่ได้ใช้ค่าพร็อกซี่ของ Opera — ควรระมัดระวังเรื่องนี้ด้วย ปรับปรุง 2008.03.19: ปรับปรุงลิงก์ (เดิม http://letwist.net/operator ; ใหม่ http://archetwist.com/opera/operator), เพิ่มคำเตือน technorati tags: Tor, Opera, Privoxy
-
Bloggers Handbook in Thai
คู่มือสำหรับบล็อกเกอร์ และนักเคลื่อนไหวไซเบอร์ แปลจาก Handbook for Bloggers and Cyber-dissidents ของ องค์กรนักข่าวไร้พรมแดน (Reporters without Borders หรือ RSF) แนะนำวิธีการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการเคลื่อนไหวทางสังคม ตั้งแต่วิธีการเลือกเครื่องมือ แนวปฏิบัติ และเทคนิคในการเขียนบล็อกแบบไม่เปิดเผยตัวตน ฉบับภาษาไทย แปลเสร็จแล้วสองบท (จาก 13 บท) วิธีเขียนบล็อกแบบไม่เปิดเผยตัวตน (นิรนาม) วิธีทางเทคนิคในการหลบเลี่ยงการเซ็นเซอร์ ขอขอบคุณ คุณคนชายขอบ ที่ได้กรุณาแปลสองบทแรกให้อย่างรวดเร็ว รวมถึงผู้ร่วมตรวจทานทุกท่านไว้ ณ ที่นี้ด้วย หากท่านใดได้แปลเพิ่มเติม สามารถส่งมาได้ที่ facthai AT gmail.com — ขอบพระคุณเป็นอย่างสูง [ลิงก์ คู่มือสำหรับบล็อกเกอร์ และนักเคลื่อนไหวไซเบอร์ @ เว็บล็อก กลุ่มเสรีภาพต่อต้านการเซ็นเซอร์แห่งประเทศไทย (FACT)] technorati tags: FACT, Internet censorship, privacy
-
Tor + FoxyProxy
One of the fundamental contrasts between free democratic societies and totalitarian systems is that the totalitarian government [or other totalitarian organization] relies on secrecy for the regime but high surveillance and disclosure for all other groups, whereas in the civic culture of liberal democracy, the position is approximately the reverse. — Geoffrey de Q Walker…
-
Handbook for bloggers and cyber-dissidents
Handbook for bloggers and cyber-dissidents by Reporters Without Borders What is a blog ? How to build and write one ? Blog ethics. How to write anonymously, and Technical ways to get around censorship. update 2007.05.26: Thai version available
-
TorPark : A quick Firefox jumps over a lazy watch dog
Browse anonymously with TorPark. Tor (anonymous Internet connection) + Portable Firefox (Firefox on USB drive) = TorPark .. “Turn any internet terminal into a secure connection.” TorPark เป็นโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ขนาดเล็ก (6 MB) สำหรับ Windows ที่ใช้ได้จากยูเอสบีไดร์ฟทันที จุดเด่นของโปรแกรม นอกจากจะไม่ต้องติดตั้ง (ทำให้ไม่ทิ้งร่องรอยการใช้งานไว้บนเครื่อง) แล้ว ยังทำการเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตผ่านโปรแกรม Tor ซึ่งทำให้การติดตามร่องรอยการใช้อินเทอร์เน็ตทำได้ยาก เราสามารถพก TorPark ใส่ยูเอสบีไดร์ฟไปใช้งานที่อื่นได้ เช่น ร้านอินเทอร์เน็ตคาเฟ่ (ยกเว้นร้านพี่หน่อย ที่ใช้ลีนุกซ์ทั้งร้าน :P) หรือคอมพิวเตอร์สาธารณะตามโรงเรียนและห้องสมุด ขอขอบคุณคุณ (นิรนาม..ละกัน) ที่แนะนำเข้ามาทางอีเมล p.s. It seems…
-
distributed, parallel, redundant discussion forum
นึกมานานละ ทำเองไม่ได้ซักที ถามเลยละกัน อยากได้โปรแกรมทำนองเว็บบอร์ดธรรมดา ๆ นี่แหละ แต่ขอว่า เราสามารถติดตั้งโปรแกรมนี้ไว้ที่หลาย ๆ โฮสต์ได้ แล้วถ้าเกิดว่าโฮสต์ไหนดันล่ม ผู้ใช้ก็จะยังไปอ่านที่อีกโฮสต์ได้ (อาจจะ redirect อัตโนมัติ หรืออะไรก็ตาม) โดยเนื้อหาทั้งสองที่นี่จะออกมาเหมือนกันเลย คือเวลาโพสต์ทีโฮสต์นึงเนี่ย โปรแกรมมันจะเอาข้อมูลไปใส่ให้ที่เหลือทุกโฮสต์ (ถ้ามีโฮสต์ไหนหายไปซักพัก พอกลับมาใหม่ ก็จะได้รับข้อมูลในช่วงที่หายไปมาด้วย) คือไม่มีใครเป็น “ตัวกลาง” จริง ๆ แล้วแต่ละโฮสต์ที่ ไม่จำเป็นว่าจะต้องรันโดยคน ๆ เดียวกัน ใครอยากจะมารันก็ได้ เปิดเพิ่มก็ได้ ทำนองว่า BitTorrent / P2P น่ะ แต่เป็นเว็บบอร์ด มีมะ ? รู้จักอยู่ตัว คือ Freenet (เป็นโปรโตคอล) แต่ใช้ยาก ช้าด้วย (เคยลองนานแล้วล่ะ แต่เหมือนตอนนี้ก็ยังไม่ได้ดีขึ้นเท่าไหร่) ซึ่งแนวคิดเค้าดีมากเลยนะ แต่อาจจะหวังสูงไปหน่อย เลยเสร็จช้า (ยังไม่มีรุ่น 1.0 เลย) อยากได้แบบใช้เว็บเบราเซอร์ปกติ…
-
How to keeps your blog under the radar
CNN — Guide aims to help bloggers beat censors PARIS, France (AP) — A Paris-based media watchdog has released an ABC guide of tips for bloggers and dissidents to sneak past Internet censors in countries from China to Iran. เขียนบล็อกยังไงไม่ให้โดนเซ็นเซอร์ และไม่มีใครรู้ว่าเราเขียน update 2007.05.26: Thai version available – มีฉบับภาษาไทยแล้ว