-
ชื่ออะไรมันก็ “จริง” ทั้งนั้น
ดานาห์ บอยด์ นักสังคมวิทยาออนไลน์ ตั้งคำถามถึงนโยบายใช้ชื่อจริงของ Google+ โดยโต้ว่า ชื่ออะไรมันก็ “จริง” ทั้งนั้นแหละ ในบริบทหนึ่ง ๆ และมันมีเหตุผลที่ชอบธรรมในการใช้ “ชื่อปลอม” (pseudonym) — แล้ว Lady Gaga เป็นชื่อจริงหรือไม่จริง ?
-
Private surfing in Ubuntu – using Tor+Privoxy
ท่องเว็บเงียบ ๆ ในอูบุนตูลีนุกซ์ (สำหรับวินโดวส์ ดูที่ http://wonam.exteen.com/20060923/tor ) Tor (ตอร์) เป็นเครือข่ายและโปรแกรมช่วยเพิ่มความเป็นส่วนตัวในการท่องเว็บ นอกจากนี้ยังอาจช่วยให้เราสามารถเข้าเว็บที่ถูกบล็อกได้อีกด้วย Privoxy (ไพรว็อกซี่) เป็นโปรแกรมพร็อกซี่ที่ช่วยเพิ่มความเป็นส่วนตัวในการท่องเว็บเช่นกัน โดยสามารถดักจับ ‘คุกกี้’ และกรองเนื้อหาบางอย่าง เช่น โฆษณา ออกไปได้ ติดตั้ง Tor และ Privoxy ใน Ubuntu 1 – ติดตั้งแพคเกจ “tor” และ “privoxy” จะใช้เมนู System -> Administration -> Synaptic Package Manager หรือจะใช้คำสั่งที่คอมมานด์ไลน์ก็ได้ คือ: sudo apt-get install tor privoxy 2 – ปรับตั้งค่าของ Privoxy โดยแก้ไฟล์ /etc/privoxy/config: sudo gedit…
-
Smooth OperaTor
เว็บเบราว์เซอร์ ระบบนิรนาม พร็อกซี่ รวมกัน Opera + Tor + Privoxy = OperaTor ใส่ในไดรฟ์ยูเอสบีได้ สบาย ๆ ใช้ง่าย ไม่ต้องติดตั้งอะไรเลย (รันได้โดยตรงจากยูเอสบี – เป็น portable apps) เหมาะมาก ลองแล้วชอบครับ คำเตือน (สำคัญ) การใช้งาน Java, BitTorrent ในตัว Opera, และโปรแกรมอีเมลและแชท IRC ในตัว Opera นั้น จะไม่ถูกทำให้เป็นนิรนาม เนื่องจากโปรแกรมเหล่านั้นไม่ได้ใช้ค่าพร็อกซี่ของ Opera — ควรระมัดระวังเรื่องนี้ด้วย ปรับปรุง 2008.03.19: ปรับปรุงลิงก์ (เดิม http://letwist.net/operator ; ใหม่ http://archetwist.com/opera/operator), เพิ่มคำเตือน technorati tags: Tor, Opera, Privoxy
-
Bloggers Handbook in Thai
คู่มือสำหรับบล็อกเกอร์ และนักเคลื่อนไหวไซเบอร์ แปลจาก Handbook for Bloggers and Cyber-dissidents ของ องค์กรนักข่าวไร้พรมแดน (Reporters without Borders หรือ RSF) แนะนำวิธีการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการเคลื่อนไหวทางสังคม ตั้งแต่วิธีการเลือกเครื่องมือ แนวปฏิบัติ และเทคนิคในการเขียนบล็อกแบบไม่เปิดเผยตัวตน ฉบับภาษาไทย แปลเสร็จแล้วสองบท (จาก 13 บท) วิธีเขียนบล็อกแบบไม่เปิดเผยตัวตน (นิรนาม) วิธีทางเทคนิคในการหลบเลี่ยงการเซ็นเซอร์ ขอขอบคุณ คุณคนชายขอบ ที่ได้กรุณาแปลสองบทแรกให้อย่างรวดเร็ว รวมถึงผู้ร่วมตรวจทานทุกท่านไว้ ณ ที่นี้ด้วย หากท่านใดได้แปลเพิ่มเติม สามารถส่งมาได้ที่ facthai AT gmail.com — ขอบพระคุณเป็นอย่างสูง [ลิงก์ คู่มือสำหรับบล็อกเกอร์ และนักเคลื่อนไหวไซเบอร์ @ เว็บล็อก กลุ่มเสรีภาพต่อต้านการเซ็นเซอร์แห่งประเทศไทย (FACT)] technorati tags: FACT, Internet censorship, privacy
-
Tor + FoxyProxy
One of the fundamental contrasts between free democratic societies and totalitarian systems is that the totalitarian government [or other totalitarian organization] relies on secrecy for the regime but high surveillance and disclosure for all other groups, whereas in the civic culture of liberal democracy, the position is approximately the reverse. — Geoffrey de Q Walker…
-
Anonymous Users as Good Users
Cathy Ma — an MPhil student, at Department of Sociology, the University of Hong Kong, doing research in internet cultural movements, copyleft, folksonomy, commons-based peer production and etc… including Wikipedia. Her research paper presented at Wikimania 2005 conference, Wikipedia – Anonymous Users as Good Users (วิกิพีเดีย – ผู้ใช้นิรนามในฐานะผู้ใช้ที่ดี) tags: Wikipedia anonymity research trust
-
Handbook for bloggers and cyber-dissidents
Handbook for bloggers and cyber-dissidents by Reporters Without Borders What is a blog ? How to build and write one ? Blog ethics. How to write anonymously, and Technical ways to get around censorship. update 2007.05.26: Thai version available
-
TorPark : A quick Firefox jumps over a lazy watch dog
Browse anonymously with TorPark. Tor (anonymous Internet connection) + Portable Firefox (Firefox on USB drive) = TorPark .. “Turn any internet terminal into a secure connection.” TorPark เป็นโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ขนาดเล็ก (6 MB) สำหรับ Windows ที่ใช้ได้จากยูเอสบีไดร์ฟทันที จุดเด่นของโปรแกรม นอกจากจะไม่ต้องติดตั้ง (ทำให้ไม่ทิ้งร่องรอยการใช้งานไว้บนเครื่อง) แล้ว ยังทำการเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตผ่านโปรแกรม Tor ซึ่งทำให้การติดตามร่องรอยการใช้อินเทอร์เน็ตทำได้ยาก เราสามารถพก TorPark ใส่ยูเอสบีไดร์ฟไปใช้งานที่อื่นได้ เช่น ร้านอินเทอร์เน็ตคาเฟ่ (ยกเว้นร้านพี่หน่อย ที่ใช้ลีนุกซ์ทั้งร้าน :P) หรือคอมพิวเตอร์สาธารณะตามโรงเรียนและห้องสมุด ขอขอบคุณคุณ (นิรนาม..ละกัน) ที่แนะนำเข้ามาทางอีเมล p.s. It seems…
-
Anonymity Won’t Kill the Internet
‘ ความเป็นนิรนาม ’ (anonymity) ถ้ารู้ว่าเราเป็นเรา แต่ไม่รู้ว่าเราเป็นใคร อันนี้เรียกนิรนามได้มั๊ย ? อย่างผมส่งอีเมลไปสองฉบับ หาคน ๆ นึง ถ้าเค้ารู้ว่าสองฉบับนั้นส่งจากคน ๆ เดียวกัน .. อันนี้แสดงว่าเค้ารู้ว่า เราเป็นเรา (คนส่งฉบับแรกกับฉบับที่สอง เป็นคนเดียวกัน) .. แต่ไม่จำเป็นว่าเค้าจะต้องรู้ว่าผมเป็นใคร (หรือการเก็บข้อมูลของ เราเป็นเรา ไปเยอะ ๆ ในที่สุดก็จะหาได้ว่า เราเป็นใคร ?) สำหรับการซื้อขายของและธุรกรรมส่วนใหญ่ (เท่าที่ผมนึกออก) บนอินเทอร์เน็ต ผมว่าการที่รู้ว่า เราเป็นเรา มันก็พอแล้วมั้ง ไม่จำเป็นจะต้องรู้ว่า เราเป็นใคร (ถ้าไม่นับเรื่องให้ที่อยู่เพื่อรับของนะ — ใช้ตู้ปณ.เอาละกัน หรือมีวิธีอื่นหว่า ?) Anonymity Won’t Kill the Internet ความเป็นนิรนามจะไม่ฆ่าอินเทอร์เน็ตหรอก Anonymity on a Disk ซีดีระบบปฏิบัติการ ที่จะทำให้การใช้อินเทอร์เน็ตแบบนิรนามเป็นเรื่องง่าย ๆ…
-
Wasting Collaboration
😛 WASTE is an anonymous, secure, and encryped collaboration tool which allows users to both share ideas through the chat interface and share data through the download system. WASTE is RSA secured, and has been hearalded as the most secure P2P connection protocol currently in development. Not so related, read about Mesh network research at…