Tag: Computer-related Crime Act

  • Quick notes on Thailand’s new cybercrime law amendment (26 Apr 2016 rev)

    Look at Section 14 (1) [online defamation], 14 (2) [“public safety”], 15 para. 3 [burden of proof to the intermediary], 17/1 [Settlement Commission], 18 (7) [investigative power to access encrypted data-at-rest], 20 (4) [Computer Data Screening Committee can block content that is totally legal], and 20 para. 5 [will be used to circumvent data-in-transit encryption].

  • “อยากกด Like จนมือสั่น”

    สืบเนื่องจากกรณีตำรวจอยากดูข้อมูลการพูดคุยกันของประชาชนบนโซเชียลมีเดีย นิตยสาร Way สัมภาษณ์ประเด็นความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงบนสื่อสังคม การแสดงออกทางการเมือง การควบคุมสื่อ และสิทธิมนุษยชน

  • ชวนไปส่งเสียง เรื่องกฎหมายคอมพิวเตอร์ บ่าย 11 พ.ค. นี้ @ โรงแรม S31 สุขุมวิท 31

    กระทรวงไอซีที ได้มอบหมายให้สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (สพธอ.) ร่างแก้ไขพ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 มีหลายเรื่องที่แก้แล้วน่าจะดีขึ้น หลายเรื่องที่น่าห่วงว่าจะแย่ลง และมีบางเรื่องเพิ่มเติมขึ้นมาเดิม ฉบับปัจจุบันยังไม่มี — จะชวนไปไล่ดูประเด็นน่าเป็นห่วงในร่างนี้ เสาร์ 11 พ.ค. นี้ โรงแรม S31 ซอยสุขุมวิท 31

  • กรณีหน้าเว็บกระทรวงวัฒนธรรม “ถูกแฮ็ก” / ผู้ดูแลระบบควรรับผิดด้วยไหม?

    จากกรณีหน้าเว็บกระทรวงวัฒนธรรม “ถูกแฮ็ก” หลังช่องสามประกาศงดฉายละคร “เหนือเมฆ 2” ต่อ และล่าสุดมีคนพบว่ามีลิงก์ไปเว็บรับพนันบอลบนหน้าแรกของเว็บกระทรวงด้วย ก็คิดๆ น่ะครับ ว่าคนเจาะนั้นเก่ง หรือว่าเว็บไซต์หน่วยงานรัฐไทยน่ะ ระบบรักษาความปลอดภัยห่วย ผมพยายามตอบบางคำถามที่ถามกันบ่อย พร้อมตั้งข้อสังเกตและข้อเสนอ ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับการแก้ไขพ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ และการเสนอร่างพ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

  • อย่าโทษคนนำสาร Don’t shoot the messenger

    อย่าโทษคนนำสาร Don’t shoot the messenger

    คดีของจีรนุชชี้ให้เห็นถึงข้อบกพร่องของ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ พ.ศ. 2550 มาตรา 15 ในหลายประเด็นสำคัญ 1. ภาระของ “ท่อ” 2. ตัวกลางกลายเป็น “แพะ”

  • สืบพยานคดีสื่อ-คอมพิวเตอร์ กันยายน 2554 @ ศาลอาญา รัชดา

    กันยา 2554 นี้ ที่ศาลอาญา รัชดา (MRT ลาดพร้าว) มีสืบพยานคดีสื่อและสิทธิเสรีภาพตลอดทั้งเดือน รวม 3 คดี — คดี “ประชาไท” (พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ มาตรา 14, 15), คดี “เอกชัย ขายซีดี” (พ.ร.บ.ภาพยนตร์และวีดิทัศน์ มาตรา 4 , 54 , 82 และประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112), คดี “ลุง SMS” (พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ มาตรา 14(2), 14(3) และประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112)

  • แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับกติกาในโลกออนไลน์

    “กฎกติกาของอินเทอร์เน็ตควรเป็นอย่างไร ?” แบบสอบถามมีทั้งหมด 6 ข้อ ใช้เวลาทำ 2-10 นาที รายงานการสำรวจที่จะเปิดเผยสู่สาธารณะ จะเป็นข้อมูลสถิติภาพรวม และจะไม่ปรากฏข้อมูลที่ระบุตัวตนของผู้ตอบแบบสอบถามได้ — สำรวจโดยโครงการพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ภาคประชาชน My Computer Law (คลิกเพื่อทำแบบสำรวจ)

  • สาวตรี สุขศรี: ว่าด้วยหลักกฎหมายอาญาและพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 2550

    อาจารย์กฎหมายธรรมศาสตร์ ตอบคำถามว่าด้วยหลักการบัญญัติกฎหมายอาญา และพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฉบับปัจจุบัน (2550) มีอะไรพิเศษไปกว่ากฎหมายอาญาทั่วไป ?

  • อาญาไม่พ้นเกล้า – อาชญากรรมทางความคิด

    [David] Streckfuss says a number of possible solutions in the form of “braking mechanisms” on lèse majesté cases have been discussed by some academics. They include possibly requiring cases to be approved by the Bureau of the Royal Household before going to court, bringing the law in line with standard libel laws, as well as…

  • นิยามปลอมของ “ข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ” ?

    จากกรณี ปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา นักกิจกรรมด้านสิทธิผู้ป่วย ถูกแจ้งข้อกล่าวหาว่า “นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ” ตามมาตรา 14 (1) ของพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ โดยข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ถูกกล่าวหาเป็นข้อมูลสถิติคนไข้ที่เสียชีวิตเและภาพความผิดพลาดในการรักษา ซึ่งใช้ในการรณรงค์ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข ผมมีข้อสังเกตเกี่ยวกับมาตราดังกล่าวดังนี้ [English Brief] May 22, 2011. Thai patient rights activist Preeyanan Lorsermvattana of Thai Medical Error Network (TMEN) was accused of “forging computer data”. The data in question is from the Network’s campaign to support Medical Malpractice Victims Protection Bill. — My take:…

Exit mobile version