Category: Cultures

  • Tokyo Godfathers

    ไม่ได้ดูหนังนานแล้ว เรื่องล่าสุดนี่ยังจำไม่ได้เลย ว่าเรื่องอะไร อาจจะเป็น รักออกแบบไม่ได้ [thaifilmdb] ล่ะมั้ง ? (รอบที่สาม?) เมื่อสองสามวันก่อน เห็น Patsonic แนะนำเรื่องนี้ เราเองก็ไม่ได้ดูอะนิเมะมานานแล้ว ก็เลยไปหาดาวน์โหลด(แบบผิดกฎหมาย)มาดู สนุกดีทีเดียว รวม ๆ ก็คือชอบ เล่าไม่เป็น ไปอ่านที่ anpanpon เขียนถึงละกัน (นั่งดูอยู่ด้วยกัน) ป.ล. เห็นชื่อเรื่องตอนแรก เดาไปว่าเดี๋ยวไอ้เด็กบ้านี่ ต้องถูกยากูซ่าเลี้ยงขึ้นมาแล้วกลายเป็นเจ้าพ่อแน่ … มั่วสุด ๆ 😛 เพิ่งจะมาเก็ทตอนหนังจะจบ ว่ามัน godfather จริง ๆ tags: Tokyo Godfather, anime, film

  • How and Why Wikipedia Works

    How and Why Wikipedia Works: An Interview with Angela Beesley, Elisabeth Bauer, and Kizu Naoko Abstract: This article presents an interview with Angela Beesley, Elisabeth Bauer, and Kizu Naoko. All three are leading Wikipedia practitioners in the English, German, and Japanese Wikipedias and related projects. The interview focuses on how Wikipedia works and why these…

  • Darwinism

    ขออนุญาตยกมาทั้งหมดเลย + เพิ่มลิงก์ (ใน […] คือที่ผมเพิ่มเข้าไปเองทีหลัง) เหตุผล ลิ่ว – ของที่อยู่มานานก็ไม่จำเป็นต้องดีเสมอไปหรอก คนพวกนั้น – ถ้ามันไม่ดีแล้วมันจะอยู่มานานไ้ด้ยังไง ลิ่ว – [กูรู้ล่ะ ว่าทำไมที่ทำงานต้องสอบ Logic] 5 Responses to “เหตุผล” ม่อน: อะไรเป็นสิ่งที่ตัดสินว่าของนัี้้้้นดีหรือไม่ดี [Postmodernism?] bact’: “ถ้ามันไม่ดีแล้วมันจะอยู่มานานไ้ด้ยังไง” Darwin นะ lewcpe: bact’ – มันเลยกำลังโดน Select ทิ้งไปอย่างในทุกวันนี้ไงครับ bact’:ก็แสดงว่าวันนี้มันไม่ดีแล้ว แต่มันก็เคยดีไง เมื่อวาน วันก่อน  คือมันตอบได้ทั้ง “ถ้า(เมื่อก่อน)มันไม่ดีแล้วมันจะอยู่มานาน(จนถึงวันนี้)ไ้ด้ยังไง” และ “ของที่(ดีและ)อยู่มานาน(จนถึงวันนี้)ก็ไม่จำเป็นต้องดีเสมอไป(ตลอดกาล)หรอก” พรุ่งนี้มันอาจจะไม่ดีแล้ว แล้วอีกสิบปีมันก็อาจจะดีใหม่ ? วัฒนธรรม มันน่าจะเก็บ/กู้ง่ายกว่า พันธุกรรม หายเรียบไปแล้วตอนนี้ ถ้ามันคลิ๊กขึ้นมาอีก เดี๋ยวก็กลับมา bact’: คือผมคิดว่าประโยคที่ ลิ่ว…

  • minkminkmink

    minkminkmink’s photos @ Flickr รูปสวยดี มีรูปชุมนุมไล่ทักษิณเมื่อหลายเดือนก่อนด้วย ได้บรรยากาศดี tags: photos, demo, Thailand, Flickr

  • Gyoko – Fishy Rock

    “Tuna! Tuna! Tuna!” “ทูน่า! ทูน่า! ทูน่า!” เนื้อเพลงของวง Gyoko (漁港 ภาษาญี่ปุ่น หมายถึงท่าเรือหาปลา) วงร็อค 3 ชิ้นจากญี่ปุ่น ไม่มีมากไปกว่าการกินปลาและจับปลา ง่าย ๆ ตรง ๆ ร้องไป ควงมีดแล่ปลาไป เอาหัวปลาทูน่ามาสวมหัวตอนแสดง ร้องเสร็จก็แล่หัวปลาให้คนดูกิน เอาสิ ข่าว 2546 ข่าว 2549 บอกว่าวงนี้ดังใช้ได้ทีเดียวในท้องถิ่น ข่าวบีบีซีที่บอกตะกี้นี้ก็ว่างั้น (ที่ดูจากทีวีตะกี้นี้ เนื้อหาคล้ายกับลิงก์ที่สอง สัมภาษณ์แฟนเพลงคนเดียวกัน) ก็คงดังใช้ได้ทีเดียวล่ะ เพราะเมื่อปี 2547 ก็ออกซิงเกิ้ลแรกกับ Universal Music ไปแล้ว (ชื่อซิงเกิ้ลคือ Maguro แปลว่า “ปลาทูน่า”) ข้อมูลจากลิงก์แรก หัวหน้าวงเป็นชาวประมง ชื่อ Tsurizao Morita (Tsurizao แปลว่า “คันเบ็ด”) พ่อเค้าปู่เค้าก็เป็นชาวประมง สมาชิกอีกสองของวงชื่อ Koichi…

  • Crub in Thai Wikipedia

    ครับ tags: Crub, music, Wikipedia

  • Let’s kick Racism out of Football

    ขอเจาะเรื่องนี้ต่อ เกี่ยวกับ การเหยียดชาติพันธุ์ (racism) ในเกมฟุตบอล หลังจากที่อ่านตัวบทความ รายงานพิเศษ เรื่องราวที่มิอาจมองข้าม การเหยียด ‘สีผิว-ชาติพันธุ์’ (racism) ในเกมฟุตบอล + ความเห็นต่าง ๆ ผมก็ลอง ๆ หาข้อมูลต่อหน่อยนึง จากเว็บ Kick It Out เค้าบอกว่า แฟน ๆ ฟุตบอลที่มีปัญหาเรื่องการเหยียดผิว เหยียดชาติพันธุ์มากที่สุดในยุโรปก็คือ สโมสร Lazio กับ Verona ในอิตาลี, Paris Saint-Germain ในฝรั่งเศส และ Real Madrid กับ Real Zaragoza ในสเปน ก็ตรงกับที่พูดถึงในบทความที่ประชาไท (ดูรายละเอียด และกรณีที่เกิดต่าง ๆ ได้ในตัวบทความนั้น) จากความเห็นของคุณภัควดี (อยู่ท้าย ๆ เลย) พูดถึงมาเตรัซซี: เมื่อปีก่อนหรือ 2-3 ปีก่อน…

  • rhythm of football

    ย่อหน้าสุดท้าย กัดเจ็บจริง ๆ 😛 เกมแห่งจังหวะและเสียงดนตรี อ. ชาญวิทย์ ผลชีวิน เคยพูดหลายครั้งว่า ฟุตบอลคือกีฬาของจังหวะ เกจิฟุตบอลชาวต่างชาติคนหนึ่งก็เคยพูดไว้ว่า ฟุตบอลผูกพันแนบแน่นกับดนตรีประจำชาติ หากเรามองดูลีลาการเล่นของแต่ละประเทศ ชาติที่ยิ่งใหญ่ในกีฬาฟุตบอลมักมีจังหวะและดนตรีประจำเกมของตัวเอง แน่นอน จังหวะของบราซิลคือแซมบ้า อาร์เจนตินาคือแทงโก้ อังกฤษคือพังค์ร็อค เยอรมนีจะเป็นอะไรไม่ได้นอกจากเพลงมาร์ช ฝรั่งเศสในยุครุ่งโรจน์เปรียบเสมือนซิมโฟนีออร์เคสตร้า และฮอลแลนด์คือแจ๊สหรือนิวเอจ ประเทศที่น่าจะยิ่งใหญ่ในกีฬาฟุตบอล แต่กลับหาจังหวะดนตรีประจำเกมของตนไม่ได้อย่างน่าประหลาดใจคือ สเปน เหตุผลนี้เองที่ทำให้สเปนไม่เคยก้าวขึ้นสู่จุดสุดยอดของเกมนี้เสียที นี่เป็นเรื่องน่าประหลาดใจไม่น้อย เพราะสเปนเป็นชาติที่มีรากเหง้าทางวัฒนธรรมเก่าแก่ และมีประวัติศาสตร์ที่เคยยิ่งใหญ่ไม่แพ้ประเทศอื่น แต่สเปนต้องประสบกับความผุกร่อนภายใน เพราะลัทธิพาณิชย์นิยมสมัยโบราณและเผด็จการฉันใด ทีมฟุตบอลของสเปนก็ต้องสะดุดขาตัวเองล้มร่ำไปฉันนั้น ในเมื่อมี thesis แล้ว ก็คงขาด antithesis ไปไม่ได้ อิตาลีคือสุดยอดของความเป็นขั้วตรงข้ามในเสียงดนตรี ขณะที่ทีมอื่นพยายามบรรเลงดนตรีและจังหวะของตนให้ไพเราะเพราะพริ้ง อิตาลีกลับทำตัวเหมือนฉิ่งฉับทัวร์ คอยเคาะกะโหลกกะลาแหกปากทำลายสมาธิคนอื่น การฟาดแข้งกับอิตาลีคือการช่วงชิงสมาธิในการคุมจังหวะ ดูอิตาลีเล่นฟุตบอลก็เหมือนดูหนังตลกร้าย และมนตร์เสน่ห์ไม่เสื่อมคลายของทีมอิตาลีก็คือความทุเรศของวิธีเล่นนั่นเอง จาก เกร็ดเกี่ยวกับฟุตบอลที่คุณอาจไม่รู้ และอะไรจะดีไปกว่าฟัง โรนัลดินโญ พูด → บทความ “ฟุตบอลนอกสนาม” อื่น ๆ tags:…

  • football as an instrument

    “Someone said ‘football is more important than life and death to you’ and I said ‘Listen, it’s more important than that’.” — Bill Shankly a larger-than-life play … ฉลองชัยอิตาลี (เฮ่อ) ด้วยฟุตบอลนอกสนาม.. ตอนนี้ทั้งที่ โอเพ่นออนไลน์ และ ประชาไท มีบทความเกี่ยวกับฟุตบอลดี ๆ เยอะแยะเลย ลองเข้าไปอ่านกันดู: open field — เปิดสนามบอลโลก กับทีมชาติ open รวมสกู๊ป ฟุตบอลโลก แบบประชาไท เลือก ๆ กันมานิดหน่อย พอเป็นตัวอย่าง ด้านล่างนี้: เกร็ดเกี่ยวกับฟุตบอลที่คุณอาจไม่รู้ และอะไรจะดีไปกว่าฟัง…

  • Berlin-Tokyo / Tokyo-Berlin

    ตอนนี้มีนิทรรศการ Berlin-Tokyo / Tokyo-Berlin อยู่ เป็นความร่วมมือของสองเมือง อยากไปดู Berlin-Tokyo / Tokyo-Berlin @ Neue Nationalgalerie, Berlin Tokyo-Berlin / Berlin-Tokyo @ Mori Art Museum, Tokyo Flickr มีรูปอยู่นิดหน่อย berlintokyo / tokyoberlin ค่าเข้า ปกติ 10 ยูโร, ลดหย่อน 5 ยูโร … ไม่รู้ไอ้บัตร ISIC หมดอายุที่มีอยู่นี่มันจะใช้ได้มั๊ย? 😛 (อาทิตย์ก่อนโน้น บอกเปิ้นว่า เฮ้ย มันมีงานอะไรไม่รู้ว่ะ จำชื่อไม่ได้ เป็นความร่วมมือของเยอรมันกะญี่ปุ่น น่าสนใจ เปิ้นทำหน้าเหวอ ๆ บอกว่า อ้าว มันจะทำอะไรอีกแล้วเนี่ย คราวที่แล้วร่วมมือกันไปที ก็ชิบหายไปทั้งโลกแล้ว … เอ่อ……

Exit mobile version