Author: bact

  • Pike – the scripting language for Semantic Web

    After a long improvement, Pike is now the first scripting language for the Semantic Web. It includes good support for W3C’s RDF and OWL standards. Nessie is Pike’s derivative, with less redundant syntax. Nessie code is parsed and turned into Pike code. — Nessie review (OSNews.com).

  • Cherokee Web Server

    Cherokee is a flexible, very fast, lightweight Web server. It is implemented entirely in C, and has no dependencies beyond a standard C library. It is embeddable and extensible with plug-ins. It supports on-the-fly configuration by reading files or strings, TLS/SSL (via GNUTLS or OpenSSL), virtual hosts, authentication, cache friendly features, PHP, custom error management,…

  • ThaiWikiOpenStep

    ไปเจอมาจากบล็อกของ Ford ThaiWikiOpenStep เป็นวิกิที่รวบรวมเรื่องเกี่ยวกับ OpenStep, GNUstep และ Cocoa ทุกอย่างเป็นภาษาไทยหมด พร้อมทั้งร่วมปรับปรุงได้ ตามสไตล์วิกิ แฟนๆ เชิญติดตามกันได้

  • OpenOffice.org and OpenDocument in Thailand

    บล็อกของ Erwin Tenhumberg พูดถึงข่าวในหนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์: “To counter the compatability issue, Sipa, Nectec and Sun Microsystems Thailand are now working to make OpenOffice 2.0 _ an open source office suite _ a standard program. In the past, there have been various office software suites, including Pladao, OfficeTLE and OpenOffice, which according to Mr Clark can create confusion.…

  • Autopackage for OpenOffice.org

    Vote for a better Linux installer for OpenOffice.org. Vote for Autopackage installer. ถ้าอยากได้ Autopackage (ติดตั้งบน Linux ง่ายๆ) ของ OpenOffice.org ก็ช่วยโหวตนะครับ 🙂 ตอนนี้โปรแกรมอย่าง Gaim, Inkscape, AbiWord, อื่นๆ ได้(ลอง)ใช้ autopackage กันแล้ว ผลตอบรับออกมาดีมาก ส่วนใหญ่บอกว่าทำให้การติดตั้งโปรแกรมบนลีนุกซ์ง่ายขึ้นมาก โดยเฉพาะกับผู้ใช้ทั่วๆ ไป (end-user) คือหน้าตาลักษณะการทำงานมันออกมาคล้ายๆ Windows เลย เวลาจะเอาโปรแกรมออก (uninstall) ก็มีโปรแกรมที่คล้ายๆ Add/Remove Program ของ Windows ยังไงก็ลองๆ อ่านรายละเอียดที่ issue #46333 นะครับ มีลิงก์อยู่ แล้วถ้าเกิดว่าอยากได้ ก็ช่วยโหวตด้วยนะครับ 🙂 ขอบคุณครับ tags:…

  • Unicode, XML, TEI, Ω and Scholarly Documents

    โดย Yannis HARALAMBOUS เสนอที่ 16th International Unicode Conference, Amsterdam, 2000 สองตัวแรกส่วนใหญ่คงเคยได้ยินกันมาบ้างแล้ว อยากรู้รายละเอียด ลองอ่าน Unicode, XML TEI คือ Text Encoding Initiative เป็นคล้ายๆ “ข้อแนะนำ” สำหรับการจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์ ก่อนหน้านี้ใช้ SGML ตอนนี้เริ่มค่อยๆ ปรับเปลี่ยนมาใช้ XML ละ หมายเหตุ: SGML, XML เป็นเพียงแค่ markup language หรือพูดอีกอย่างคือ เป็นเพียงแค่เครื่องมือในการเข้ารหัสเท่านั้น แต่ไม่ได้บอกว่า จะเข้ารหัสยังไง ตัวอย่างเช่น สมมติมี โคลงสี่สุภาพอยู่บทนึง จะเก็บยังไง เก็บทั้งบทรวมกันเป็นก้อนเดียวโดยใส่เครื่องหมายแบ่งบรรทัดลงไปด้วย หรือว่าแยกเป็นสี่ส่วน แต่ละส่วนมีโครงสร้างเหมือนกัน แล้วให้แต่ละส่วนเก็บแต่ละบาท (โคลงสี่สุภาพ 1 บท มี 4 บาท) แล้วจากนั้นค่อยใส่สี่บาทนี้เข้าไปในตัวบทอีกที แล้วเอาตัวบทไปใส่ในตัวโคลงอีกที…

  • โอ้ มาย Ω

    อินเทอร์เน็ตอาจจะมีทุกสิ่ง เป็นสวรรค์ของเด็กๆ ที่ต้องทำรายงานส่งครู — แต่เสิร์ชเอนจิ้นไม่ใช่พระเจ้า ไม่ได้จะบอกว่า เสิร์ชเอนจิ้นไม่มีทางหาทุกอย่างที่มีในอินเทอร์เน็ตเจอ แต่จะบอกว่า เสิร์ชเอนจิ้นมันคงเดาลำบากน่ะ ว่าคำที่ให้มันหา จริงๆ คนหาหมายความว่าอะไร หรือ คนเขียนหมายความว่าอะไร คำพ้องรูป ยิ่งเจอแบบนี้ –> Ω ยิ่งลำบาก ถ้าเราหา “Ω” – ตัวอักษรกรีก Omega (โอเมก้า) – ด้วย Google ผลลัพธ์ต้นๆ ที่เราจะได้คือ รูปหมี(หรือหมู?)น้อยน่ารัก เช่น พ่อหมี (`・ω・´) ลูกหมี (・ω・) หมีแฮปปี้ ( ^ω^) หมีกล่อง 【・ω・】 หมีเชียร์ลีดเดอร์ (っ・ω・)っ หมีรำวง ヽ(●´ω`)人(´ω`●)ノ และ หมีด้วยคน (=゚ω゚)ノ เป็นอาทิ เวรกรรม ตัว ω จมูกหมี ก็คือ โอเมก้าตัวเล็กนั่นเอง…

  • Come Undone

    เฮ้ย พิมพ์ใหม่หมดเลย! Blogger ทำหายอีกแล้ว โอ้ว! ยอร์จ มันจ้อดมาก! ยาวด้วยนะนั่น — 500 Internal Server Error I Love You Ja~ Kiss Me Kiss Me *Joob* *Joob* — อั้นแน่~ หายอีกแล้ว .. ไม่กลัวหรอกเฟ้ย ก๊อปมาใหม่ได้ ฮ่าๆๆๆ (6X) ชอบมาก นะ ตอนนี้ ฟังอยู่ วนๆ หลายรอบละ เพลง Come Undone ของ ร็อบบี้ วิลเลี่ยมส์ ชอบเพลงนี้มาอยู่ก่อนแล้ว เพราะมันร้องได้ใจมาก แต่ก็ยังไม่รู้ความหมายทั้งหมด เพราะบางคำก็ฟังไม่ออก/ไม่รู้ความหมาย วันนี้ได้ไปเห็นเนื้อร้องเต็มๆ (แปลคำในเพลง) โห เจ๋ง แต่งได้ไงวะ แล้วก็นึกถึงเพลง Bitch ของ…

  • PopThaiKwik

    PopThaiKwik เป็น bookmarklet ที่ช่วยให้เรียกใช้บริการเปิดพจนานุกรมอัตโนมัติ Longdo PopThai ได้อย่างรวดเร็วยิ่งขึ้น (สำหรับผู้ที่ไม่ได้ติดตั้ง Longdo Toolbar เอาไว้ในเบราเซอร์) คือไม่ต้องลอก url เว็บที่อยากแปลไปแปะในเว็บ PopThai เอง วิธีเอาไปใช้: ลากลิงก์นี้ PopThaiKwik ไปแปะไว้ที่ bookmark toolbar / favorite ของเว็บเบราเซอร์ แค่นั้นแหละครับ วิธีใช้: ที่หน้าที่อยากแปล คลิกที่ลิงก์ของ PopThaiKwik (ที่ลากไปแปะไว้ตะกี้), ตัว PopThai จะถูกเรียกให้ทำงานโดยอัตโนมัติ ข้อจำกัด: ไม่น่าจะใช้งานได้กับหน้าเว็บแบบไดนามิกที่ไม่ได้เก็บข้อมูลไว้ใน url และหน้าเว็บบางอัน ที่มีการใช้ CSS สร้างตารางทับๆ กัน อย่างบล็อกผมเป็นต้น -_-” ลองดูได้ คำแปลมันจะยังขึ้นอยู่ แต่ปัญหาคือ มันจะไปอยู่ด้านหลังของตารางหลักน่ะสิ เลยมองไม่ค่อยจะเห็น ป.ล.แรก: ไม่รู้จะตั้งชื่ออะไรดี เอาเป็นนี้ละกัน คล้ายๆ ไวไวควิก 😛…

  • Thailand Science and Technology Strategic Plan (2004-2013)

    (โพสต์ไปแล้ว ขึ้นมาแล้ว แต่อยู่ดีๆ ก็หายไป — โพสต์ใหม่ — หาย 2 รอบแล้วนะ, เดี๋ยวก็ย้ายโฮสต์ซะหรอก) แผนกลยุทธ์ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (พ.ศ. 2547-2556) (สไลด์ PowerPoint – ถ้ายังไม่มีโปรแกรมอ่าน ดูที่นี่) โดย ดร. ญาดา มุกดาพิทักษ์ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) วันที่ 5 กรกฎาคม 2547 ได้รับความเห็นชอบจาก ครม. เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2547 4 สาขาหลักที่จะเน้นคือ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ไบโอเทคโนโลยี นาโนเทคโนโลยี และ วัสดุศาสตร์ ในสไลด์มี SWOT สถิติและแนวโน้มต่างๆ พร้อมแผน ทำละเอียด อ่านง่าย ลงยันต์: ~o ห้ามหาย o~

Exit mobile version